Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor), big, big_15363158855b9251ed50855 -…
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor)
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 ชม หรือระยะที่สองของการคลอดไม่ถึง 10 นาที.
อุบัติการณ์
พบได้ประมาณร้อยละ2 ของการคลอด ร้อยละ 93 ของผู้คลอดกลุ่มนี้มักเป็นผู้คลอดที่ผ่านการคลอดมาเเล้ว
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันการคลอดเฉียบพลัน
3.สังเกตความก้าวหน้าของการคลอดอย่างใกล้ชิด บันทึก UC ทุก 30 นาที , PVเมื่ออยากเบ่ง
4.ไม่ทอดทิ้งผู้คลอด
2.ระวังในการช่วยคลอดในรายที่มีประวัติคลอดเร็ว
5.พิจารณาย้ายคลอดเมื่อ Cx.Dilate 5 cm.เพื่อเตรียมการคลอดโดยเร็ว
1.ผู้คลอดที่มีประวัติการคลอดเร็วต้องระมัดระวังในการช่วยเหลือ
6.ระยะหลังคลอดระวังการตกเลือด จากการฉีกขาดของช่องทางคลอดหรือมดลูกไม่หดรัดตัว
การดูเเลตามอาการ กรณีที่มีภาวะคลอดเฉียบพลัน
2.ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ ใช้มืออีกข้างกดศรีษะทารกให้ก้มลงก่อนที่ศรีษะทารกจะคลอด
3.มารดาที่ไม่สามารถหยุดเบ่ง เเละศรีษะทารกคลอดออกมาเเล้ว ให้กางขามารดาออก
1.กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจเเบบตื้นๆ เร็วๆ เบาๆ เข้าออกทางปากเเละจมูก
4.จับให้ทารกนอนศรีษะตำ่ ตะเเคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง เเละดูดนำ้ครำ่ในปากเเละจมูกทารกออก
เเนะนำให้รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธ์ เเละดูเเลให้ได้รับ ATB ตามแผนการรักษา
ภาวะเเทรกซ้อน
ภาวะเเทรกซ้อนต่อมารดา
Inversion of uterus
มีการติดเชื้อที่เเผลฉีกขาด เเละจากการช่วยคลอดไม่ทัน
Amniotic fluid embolism
ตกเลือดหลังคลอดเพราะช่องทางคลอดฉีกขาด มดลูกหดรัดอ่อนล้า
ถ้าเเรงต้านทานของช่องทางคลอดมีน้อย เช่น ปากมดลูกบาง เเละถ่างขยายได้ง่าย
มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด
ถ้าเเรงต้านทานของช่องทางคลอดมีมาก เช่น ปากมดลูกเเข็งไม่เปิดเเละยาว
ภาวะเเทรกซ้อนต่อทารก
เกิดอัมพาตของเเขนเเละขาถูกกระทบกระเทือน
สายสะดือขาด
อัตราตายของทารกเพิ่มขึ้น
อาจเกิดการติดเชื้อ:คลอดเร็ว ทำความสะอาดไม่ทัน
เลือดออกในสมอง
ศรีษะทารกได้รับอันตรายจากการรับเด็กไม่ทัน
สาเหตุเเละปัจจัยส่งเสริม
มดลูกหดรัดตัวเเรง:เกิดเอง/ยาเร่งคลอด การให้ยา oxytocin มากเกินไป
ความต้านทานที่คอมดลูก พื้นเชิงกราน ช่องคลอด เเละฝีเย็บมีน้อยหรือเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
เด็กตัวเล็กหรือมารดาตั้งครรภ์ เเละเป็นการคลอดหลายครั้ง
การประเมินสภาพ
การตรวจร่างกาย
ประเมินการหดรัดตัวของปากมดลูก
การฟังเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ร่วมกับ monitor EF
การตรวจภายใน เพื่อประเมินการขยายของปากมดลูก
ภาวะจิตสังคม ได้เเก่ ประเมินความวิตกกังวล ความหวาดกลัวเกี่ยวกับภาวะสุขภาพของทารกจากการคลอดเร็ว
การซักประวัติ ประวัติการคลอดเฉียบพลัน การคลอดเร็วในครรภ์ก่อน ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ อื่นๆ
อาการเเละอาการเเสดง
มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างถี่เเละรุนเเรง มากกว่า 5 ครั้งในเวลา 10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว ครรภ์เเรกปากมดลูกเปิด 5 ซม./ชม. ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 10 ซม./ชม. หรือมากกว่า 10 ซม./ชม.
มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
การรักษา
หากกำลังให้ยา Oxytocin เร่งคลอดควรหยุดทันที
ให้ยาที่มีคุณสมบัติทำให้มดลูกคลายตัว ได้เเก่
ยาดมสลบ เช่น Halothane เเละ Isoflurance
ยาที่มีฤทธิ์ให้กล้ามเนื้อคลายตัว(Tocolytic agent) เช่น Ritrodine , Magnesium sulfate
การให้ยาระงับปวด
การวินิจฉัย
ผู้คลอดอยากเบ่งในขณะที่ปากมดลูกเปิดไม่หมด
ปากมดลูกถ่างขยายเร็ว ไม่สัมพันธ์กับระยะเวลาคลอด
มดลูกหดรัดตัวถี่เเละรุนเเรงทุก 2 นาทีหรือบ่อยกว่านั้น