Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE), big -…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE)
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาซึ่งจะเข้าไปในหลอดเลือดฝอยในปอดแล้วไปอุดกั้นหลอดเลือดดำที่ปอดทำให้ร่างกายต้านสารประกอบน้ำคร่ำโดยทำให้เกิดการล้มเหลวของทางเดินหายใจและระบบหัวใจรและการไหลเวียนโลหิตระบบแข็งตัวของเลือด
เป็นภาวะฉุกเฉินทางการคลอดที่มีลักษณะเฉพาะ
ความดันโลหติต่ำ
ขาดออกซิเจน
ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
การรักษา
1.ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่า Fowler'sposition ให้oxygenถ้าระบบหายใจล้มเหลวให้ใส่ท่อช่วยหายใจ
2.แก้ไขภาวะความดันโลหติต่ำ
3.ดูแลการหดรัดตัวของมดลูก ให้oxytocin หรือmethergin
4.ถ้าทารกยังไม่คลอดให้ประเมิณ FHR และรีบผ่าคลอดด่วน
5.เจาะเลือดเพื่อประเมินความเข้มข้นของเลือดและการแข้งตัวของเลือด
6.ให้Heparin เพื่อรักษาาภาวะการแข็งตัวของเลือด
7.ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
ปัจจัยส่งเสริม
ใช้ยาเร่งคลอด
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน ทำให้มีการเปื่อย หลอดเลือดฉีกขาดทำให้น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
ผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกในและภายนอก
มารดามีบุตรหลายคน
ตั้งครรภ์หลังอายุ35 ปี
การเบ่งคลอดขณะเจาะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
เจาะถุงน้ำคร่ำ
การรูดเพื่อขยายปากมดลูก
อาการและอาการแสดง
หนาวสั่น
เหงื่อออกมาก
คลืนไส้อาเจียนวิตกกังวล
dyspnea,cyanosis
pulmonary edema
เส้นเลือดทีหัวใจตีบ
ความดันโลหติต่ำมาก
ชัก
หมดสติและเสียชวีติ
หากเกิดนานกว่า 1 ชั่ว โมง และผู้คลอดยงัมีชวีติ อยู่จะเกิดภาวะกลไกการแข็งตัวของเลือดเสียไปและเกิดการตกเลือดอยา่ งรุนแรงหากไม่ได้รบัการแก้ไขภาวะการหดรดั ตัวของมดลูกที่ดีพอ
การวินิจฉัย
จากอาการ
ระบบหายใจล้มเหลว
อาการเขียว
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง
เลือดออก
หมดสติ
จากห้องปฏิบัติการ
ตรวจหาเซลล์ผิวหนังขนอ่อน
เมือกของทารกหรือเซลล์จากรก
การชันสูตรศพ
เลือดจากกระแสเลือดในปอดมารดา
เสมหะ
CXR อาจพบ pulmanary edema
EKG จะพบ trachycardia ST และ T wave
เปลujยนแปลง และมีRV strain ได้
ตรวจการไหลเวยีนของเลือดในปอด อาจพบ
perfusion defect ได้
ตรวจ Sialy 1TH antigen พบมีระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เสียชีวิตจากการเสียเลือด
ถ้ารอดอาจมีอาการทางระบบประสาทจากการขาดออกซิเจนรุนแรง
ต่อทารก
ถ้ารอดชีวิตอาจมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การพยาบาล
1.เฝ้าระวังอย่างใกล้ชิดโดยคำนึงถึงปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน่ำคร่ำอุดกั้นในปอด
2.ถ้ามีอาการชัก โดยไม่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อนเขียวทั้งตัวหรือบางส่วน
2.1 จัดท่านอน Fowler's position
2.2 ใหอ้ อกซิเจน
2.3ให้สารน้ำตามแผนการรักษา
2.4 เฝ้าระวังภาวะตกเลือดหลังคลอด
2.5 สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
2.6 เตรียมช่วยเหลือคลอดโดย F/E หรอื C/S
2.7 เตรยีมช่วยฟื้นคืนชพี ในรายที่ arrest
2.8 ใชเ้ครื่องช่วยหายใจต่อ 2-3 วัน เพื่อดูแลระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
2.9 ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว หากมารดาและทารกเสียชีวิต
การป้องกัน
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
การเจาะถุงน้ำคร่ำ ระวังไม่ให้ถูกปากมดลูก
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำจากคอมดลูก
ในรายที่ทารกตายในครรภ์การให้oxytocin drip ควรดูUC อยา่ งใกล้ชิดและไม่ควรเจาะถุงน้ำคร่ำก่อนปากมดลูกเปิดหมด
ในรายที่มีรกเกาะต่ำควรตรวจภายในอย่างระมัดระวัง
ถ้าเจ็บครรภ์ถี่มากเกินไป พักผ่อนได้น้อย ควรรายงานแพทย์ทุกครั้ง