Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism / AFE) - Coggle…
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
(Amniotic fluid embolism / AFE)
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำพลัดเข้าไปในกระเเสเลอืดทางมารดา
ส่วนประกอบของน้ำคร่ำมีผลทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานระบบไหลเวียนเลือด หัวใจ และระบบหายใจ เป็นภาวะฉุกเฉินทางการคอดที่มีลักษณะเฉพาะ
Hypoxia
Consumptive coagulopathy
Hypotension
ปัจจัยส่งเสริม
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคน
การบาดเจ็บในช่องท้อง
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
มดลูกแตก
น้ำคร่ำมีขี้เทาปน
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เบ่งคลอดขณะถุงน้ำคร่ำยังไม่แตก
รกเกาะต่ำ
การเจาะถุงน้ำคร่ำ
การคลอดเฉียบพลัน
การตรวจวินิจฉัยน้ำคร่ำก่อนคลอด
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน ทำให้เปื่อยยุ่ย ขาดง่าย อาจเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือด ทำให้น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด
การรูดเพื่อเปิดขยายปากมดลูก
การเร่งคลอดโดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การหมุนเปลี่ยนท่าทารกภายในและภายนอกครรภ์
พยาธิสภาพ
ส่วนประกอบของน้ำคร่ำจะผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดา โดยผ่านเข้าไปในบริเวณที่รกลอกตัว หรือบริเวณที่ปากมดลูกฉีกขาด ด้วยแรงดันจากการหดรัดตัวของมดลูก ส่วนประกอบของน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดของมารดา ผ่านเข้าสู่หัวใจและปอด ทำให้เกิดการอุดตันในหลอดเลือดฝอยในปอด ทำให้หลอดเลือดหดเกร็ง เลือดที่ไหลผ่านปอดมาสู่หัวใจซีกซ้ายลดลงทันที ทำให้เลือดที่จะถูกบีบออกจากหัวใจข้างซ้ายลดลงทันที เกิดถาวเ cardiogenic shock ความดันในหลอดเลือดปอดสูงขึ้น เกิดเลือดคั่งในปอด ส่งผลให้หัวใจซีกขวาไม่สามารถบีบตัวดันเลือดให้ผ่านปอดได้ จึงเกิดภาวะปอดบวมน้ำตามมานอกจากนี้ นอกจากนี้ปฏิกิริยาต่อต้านทำให้เกิดการไหลเวียนเลือดในปอดลดลงส่ ส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์ ทำให้ทำให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในหลอดเลือดแดง และภาวะการแข็งตัวของเลือดเป็นลิ่มเล็กๆ แพร่กระจายในหลอดเลือด (Disseminated intravascular clotting: DIC) มารดาจะเสียเลือดมาก และเสียชีวิตจากภาวะระบบหายใจและหัวใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
pulmonary edema
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
dyspnea เกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีและมี cyanosis
low blood pressure
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
ชัก
เหงื่อออกมาก
Unconscious
chill
ถ้าเกิดอาการนานกว่า 1 ชั่วโมง ผู้คลอดยังมีชีวิตอยู่จะเกิดภาวะกลไกลการเเข็งตัวของเลือดเสียไป และเกิดอาการตกเลือดอย่างรุนแรง หากไม่ได้รับการแก้ไขภาวะการหดรัดตัวของมดลูกที่ดีพอ
การวินิจฉัย
วินิจฉัยอาการและอาการแสดง
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง Cardiovascular collapse
เลือดออก
อาการเขียว
ไม่รู้สติ
ระบบหายใจล้มเหลวระบบหายใจล้มเหลว Respiratory distress
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ECG จะพบ tachycardia ST และ T waveเปลี่ยนแปลง และมีRV strainได้
ตรวจการไหลเวียนเลือดในปอดอาจพบ perfusion defect
Chest X-Ray อาจพบ Pulmonary edema
Sialy 1TH antigen จะพบระดับสูงขึ้นในน้ำคร่ำที่มีขี้เทาปนเปื้อน
ตรวจหา lanugo hair, fetal squamous cell, fetal debris, trophoblasts
CVP line
เสมหะ
autopsy
การรักษา
ถ้าทารกยังไม่คลอด ประเมินอัตราการเต้นหัวใจของทารก และรีบให้การช่วยเหลือโดยการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องอย่างเร่งด่วน
เตรีเตรียมยาในการช่วยชีวิตผู้คลอดถ้ามีความดันโลหิตต่ำเช่น Dopamine, Norepinephrine, Epinephrine
ดูดูแลให้ยา Oxytocin หรือ metherginทางหลอดเลือดดำ
เจาะเลือดเพื่อประเมินความเข้มข้นของเลือดและการแข่งตัวของเลือด
ดูแลระบบไหลเวียนเลือด เพื่อแก้ไขภาวะโลหิตต่ำ โดยให้สารละลายทางหลอดเลือดดำ
รัรักสาภาวะการแข็งตัวของเลือดผิดปกติ (DIC) โดยให้ยา Heparin
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง จัดท่านอน Fowler‘s position ให้ออกซิเจน 100% และถ้ามีระบบการหายใจล้มเหลว ให้ใส่ท่อช่วยหายใจ และใช้เครื่องช่วยหายใจ
ประเมินการเสียเลือดทางช่องคลอด
ผลกระทบต่อทารก
โอกาสรอดค่อนข้างน้อย ถ้ารอดชีวิตจะพบภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การป้องกัน
ในรายที่ในรายที่เด็กตายในครรภ์โดยใช้ Oxytocin drip ควรทำอย่างระมัดระวัง
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยใช้วิธีเลาะเเยกเยื่อถุงน้ำคร่ำStripping membranesจากคอมดลูก
ควรเจาะถุงน้ำคร่ำอย่างระมัดระวังไม่ให้ถูกปากมดลูก
ไม่ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
ขณะเจ็บขณะเจ็บครรภ์คอดไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป ควรจะ Duration ไม่เกิน 60 วินาที Interval 2 - 3 นาที/ครั้ง
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มาก คลอดพักได้น้อย ควรรายงานแพทย์
ผลกระทบต่อมารดา
เสียชีวิตจากการขาดเลือด
ถ้ารอดชีวิตมักมีอาการทางระบบประสาท เนื่องจากมีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
การพยาบาล
ถ้ามีภาวะชักเกร็งโดยไม่มีภาวะความดันโลหิตสูงมาก่อน มีภาวะ Cyanosis ควรปฏิบัติดังนี้
สังเกตการหดรัดตัวของมดลูก
เตรียมช่วยเหลือการคลอดโดยใช้คีม หรือผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
เฝ้าระวังการเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอด
เตรียมการช่วยพื้นคืนชีพในรายที่เกิดหัวใจล้มเหลว Cardiac arrest
ให้สารน้ำและเลือดตามแผนการรักษา
ใช้ใช้เครื่องช่วยหายใจใน 2-3 วันแรก เพื่อดูแลระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิต
ให้ออกซิเจน
ดูแลและให้กำลังใจต่อครอบครัว ถ้ามารดาและทารกเสียชีวิต
จัดให้นอนท่า Fowler
เฝ้าระวังการให้ยาเร่งคลอด เจ็บครรภ์คลอดที่รุนแรง การเจาะถุงน้ำและการตกเลือดหลังคลอด เพื่อป้องกันการเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันหลอดเลือดในปอด