Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กระดูก และกล้ามเนื้อ, นางสาว เอิญ…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กระดูก และกล้ามเนื้อ
ภาวะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ คือ ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูุดนม
กรณี 1 ไม่มีไข้ นึกถึง Head injury , Brain tumor , Epilepsy
โรคลมชัก (Epilepsy)
สาเหตุ
1.ทราบสาเหตุ : ติดเชื้อระบบส่วนกลาง พันธุกรรม ต่าง ๆ
ทราบสาเหตุ : จากความผิดปกติของยีน(Neurotransmission)
3.หาสาเหตุไม่ได้ : มีพยาธิสภาพในสมอง จัดใน Symtomatic epilepsy
อาการ
Preictal period ระยะก่อนชัก มักเกิดไม่เกินครึ่งชั่วโมง
อาากรนำ (Seizure prodromes) ไม่มีอาการจำเพาะ ระหว่างเกิดไม่มีการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
2.อาการเตือน(Aura) แตกต่างกันตามตำแหน่งสมอง เช่น ชา เห็นภาพหลอน
Interical peroid : หลังการชักหนึ่งสิ้นสุดจนถึงการชักใหม่ ไม่มีอาการใดๆ
Postictal peroid : การชักสิ้นสุดลง
1.Postical paralysis หรือ Todd's paralysis
Automatism
ชนิดของลมชัก
อาการชักเฉพาะที่ (Partial/ Focal seizure)
1.ชักเฉพาะที่แบบมีสติ (Simple partial seizure)
ชักเฉพาะที่แบบขาดสติ (Complex partial seizure)
ชักเฉพาะที่ตามด้วยชักเกร็งทั้งตัว
2.อาการชักทั้งตัว (Generalize seizure)
ชักเหม่อ (Absence)
ชักเกร็งกระตุก
ชักกระตุก
ชักเกร็ง
ชักตัวอ่อน
ชักสะดุ้ง
กรณี 2 มีไข้ นึกถึง Meningitis , Encephalitis , tetanus
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว ได้แก่ Haemophiius influenzae , Neisseria meningitids , Streptococcus peumoniae
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศรีษะรุนแรง ปวดข้อ ชัก ซึมหมดสติ คอแข็ง(Nuchal rigidity) พบ Kernig sign และ Brudzinski sign บวก
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal meningitis)
สาเหตุ
Neisseria meningitides พบมาก A,B,C,Y,W135
อาการ
ไข้ ปวดศรีษะ อาเจียน คอแข็ง อาจมีจ้ำเลือดและผื่นแดง ส่วนใหญ่มา 2 อาการสำคัญ ได้แก่
1.Meningococcemia
meningitis
กรณีที่ 3 มีไข้สูงเกิน 38 องศาเซสเซียส ประมาณ 6 เดือน - 5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ภาวะชักจากไข้สูง ( Febrile convulsion )
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหูมิสูงกว่า 39 องศาเซสเซียส โดยเกิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังมีไข้
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
ชักแบบทั้งตัว (Generalized seizure)
มักชักระยะสั้น ๆ ไม่เกิน 15 นาที ไม่ชักซ้ำ
ก่อน - หลัง ไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
ชักได้ทั้งแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ระยะในการชักมากกว่า 15 นาที และมีการชักซ้ำ
หลังชักมีอาการผิดปกติทางระบบประสาท
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้ำไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง : ภาวะน้ำคั่งในกระโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการแสดงทางคลินิก
1.Cranium enlargement
Disproportion Head circumference
Suture separation
4.Suture separation
5.Enlargement & engorgement of scalp vein
6.Macewen sign cracked pot sound
7.sign of IICP
กรอกตาไม่ได้
9.ตาเขเข้าด้านในมองด้านข้างไม่ได้
Hyperactive reflex
lrregular respiration
Poor development
mental retardation
Failure to thrive
การรักษา
การรักษาด้วยยา ขับปัสสาวะ Acetazolamide
การรักษาด้วยการผ่าตัด
1.การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
2.การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
Spina bifida
ชนิดของ Spina bifida
Spina bifida occulta : ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างกระดูกสันหลัง บริเวณ L5-S1 ไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองอยู่ในกระดูกสันหลัง
2.Spina bifida cystica : ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็นก้อนหรือถุง
Meningocele : ไม่มีเยื่อประสาทไขสันหลัง
Myelomeningocele : มีไขสันหลัง อันตราย
ป้องกันได้โดยการให้โฟลิกแก่หญิงตั้งครรภ์
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ (CP:Cerebral palsy)
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง(Splastic)
Splastic quadriplegia
2.Splastic diplegia
Splastic hemiplegia
Extropyramidol cerebral palsy
Atoxia cerebral palsy
Mixed type
อาการ
มีการเจริญเติบโตช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่น ๆ เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
เป็นลักษณะที่ศีรษะเอียงจากแนวกึ่งกลางไปด้านใดด้านหนึ่งจากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ Sternocleidomastoid
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนค่อย ๆ ยุบลงไป
ปล่อยไว้นาน ๆ จะส่งผลให้กระโหลกศรีษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง ศรีษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
โรคที่มักพบร่วม คือ ข้อสะโพกผิดปกติ ข้อเท้าผิดปกติ
การรักษา
การยึดกล้ามเนื้อด้วยการผ่าตัด
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง
การใช้อุปกรณ์ช่วยพยุง
กระดูกหักและข้อเคลื่อน
อาการและอาการแสดง
ปวดและกดเจ็บบริณที่หักหรือเคลื่อน
บวมเนื่องจากมีเลือดออก
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะผิดรูป
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกไหปลาร้า (Fracture of clavicle)
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head)
กระดูกปลายแขนหัก
กระดูกต้นขาหัก
Brith palsy
การรักษา
การเข้าเฝือกปูน
Pulselessness
Pallor
paresthesia
paralysis
pain
puffiness or swelling
การดึงกระดูก (Traction)
ชนิดของ Traction
Bryant's traction
Over Head traction
Dunlop's traction
Skin traction
Russell's traction
การผ่าตัดทำ ORIF
ภาวะแทรกซ้อน
Volkmann's ischemic contracture
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
1.ความผิดปกติของการเผาผลาญ vit D
ดูดซึมแคลเซียมได้น้อย เกิดได้จาก โรคไต ฟอสเฟตต่ำ เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อน้อย , กล้ามเนื้อหย่อน , อ่อนแรง , หลังแอ่น , หลังค่อม, กระดูกหัก เป็นต้น
การรักษาและการป้องกัน
รักษากระดูกหักทั่วไป
ให้วิตามินดี โดยการ ให้วิตามินเสริม ออกไปรับแสงแดดช่วงเช้า
การรับประทานโปรตีนและแคลเซียม
ออกกำลังกาย
Bone and joint infection
การวินิจฉัยการติดเชื้อที่ข้อ
อุณหภูมิร่างกายมากกว่า 38.3 องศาเซสเซียส
มีอาการปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
5.มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาธิสภาพอื่น
ตอบสนองดีกับยาปฎิชีวนะ
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะ
ผ่าตัดเอาหนองออก
Septic arthritis
สาเหตุ
เชื้อเข้าข้อ
อาการ
มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ พบ ESR , CRP สูง
การรักษา
ให้ยาปฎิชีวนะ
ผ่าตัดทำ Arthrotomy and drainage
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ข้อสะโพก ข้อเข่า ข้อเท้า
สาเหตุ
Mycobacterium tuberculosis
อาการ
กระดุกจะถูกทำลายมากขึ้น กระดุกจะบางลง หรือแตก กระดุกเกิดเป็นโพรง เชื้อทำลายกระดุกสันหลัง
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักตัวลด มีไข้ต่ำ ๆ ตอนเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต มีประวัติใกล้ชิดกับผู้เป็น TB
การวินิจฉัย
CPR , ESR สูง
Tuberculin test positive
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
ผ่าตัดระบายหนองออก
Club Foot
สาหตุ
แบบทราบสาเหตุ
Position clubfoot
teratologoc clubfoot มีความแข็งมาก
Neuromuscular clubfoot
ไม่ทราบสาเหตุ
การวินิจฉัยโรค
เท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน
การรักษา
1.การดัดและใส่เฝือก
2.การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ (เด้กอายุน้อยกว่า 3 ปี)
การผ่าตัดกระดูก (เด็กอายุ 3-10 ปี)
การผ่าตัดเชื่อมข้อกระดูก (อายุ 10 ปีขึ้นไป)
Flat feet
อาการ
มีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าหนาผิดปกติ
ปวดฝ่าท้า
รองเท้าจะสึกเร็ว
รายที่รุนแรงจากปวดหน่อง เข่า สะโพก
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
จากการเดินที่ผิดปกติ
เอ็นข้อเท้าฉีกขาด
โรคที่เกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
ภาวะกระดูกไขสันหลังคต (Scolisis)
ชนิดของกระดูกไขสันหลังคต
ชนิดที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงของในเนื้อกระดูกสันหลัง
2.ชนิดที่มีการเปลี่ยนแปลงเนื้อกระดุกไขสันหลัง
อาการ
กระดูกสะบัก 2 ข้างไม่เท่ากัน
เมื่อก้มไปด้านหน้ามองเห็นตะโหงก (Hump)
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ในแนวระดับเดียวกัน
เกิดอาการปวดเมื่อหลังคตมาก
การรักษา
การใส่อุปกรณ์ดัดตัว (Brace)
การผ่าตัด
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการ
ปวดบริเวณที่มีเนื้องอก
น้ำหนักตัวลด
มีไข้
การเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาจมีกระดูกหักบริวณนั้น ๆ
การรักษา
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
ผ่าตัด
Omphalocele
ลักษณะทางคลินิก
ผนังหน้างท้องบางมองเห็นอวัยวะภายในได้ อวัยวะที่อยู่ในถุงอาจประกอบไปด้วย ลำไส้เล้ก ลำไส้ใหญ่ กระเพาะอาหาร ม้าม และตับ
การรักษา
conservative
2.การผ่าตัด
การเย็บผนังหน้าท้องปิด (Primary fascial closure)
การปิดหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน (Staged repair )
นางสาว เอิญ รักษากุล เลขที่ 103 ห้อง 2B รหัสนักศึกษา 613601212