Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, ชื่อนางสาวจิดาภา พุ่มขจร เลขที่ 12 รหัส…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
สาเหตุ เกิดจากได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อน มีแรงมากระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง มีอาการปวดและกดเจ็บ บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดูกเกยกัน รอยจำเขียว อวัยวะผิดรูป
การติดกันของกระดูกเด็ก มีคอลลาเจนมาประสานรอยแตกของกระดูก
การประเมินสภาพ ซักประวัติเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น ตรวจร่างกายทั่วไปพร้อมสังเกตภายนอกว่าเป็นกระดูกหักชนิดที่มีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผล
การรักษา จุดประสงค์คือรักษาเด็กในภาวะฉุกเฉินคือ ช่วยชีวิตเด็กไว้ก่อนแก้ไขเรื่องทางเดินหายใจ การเสียเลือด ภาวะการณ์ไหลเวียนล้มเหลว ตามลำดับ
กระดูกหักที่พบบ่อย
การดูกไหปลาร้าหัก (Fracture of clavicle)
อาการและอาการแสดง Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก ปวด บวม ข้างที่เป็น เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า
การรักษา ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา ให้ติดลำตว พักนาน 10-14 วัน ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา
กระดูกต้นแขนหัก (Fracture of humerus) ในทารกแรกเกิดเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดนำนิ้วเข้าไปเกี่ยวออก ส่วนในเด็กโต อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง รักษาดดยอาจให้ห้อยแขนข้างที่หักไว้ด้วยผ้าคล้องแขนไว้นานประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture) เกิดจากการล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหนียดตรงหรือข้อศอกงอ จะปวดบวมมาก โรคแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้น (Volkman's ischemic contracture) กระดูกหักบริเวณนี้อาจเกิดปัญหาเกี่ยวกับเจริญเติบโตของกระดูก Humerus
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส เกิดจากการหยอกล้อแล้วดึงแขนหรือหิ้วเด็กขึ้นมาตรงๆ
การะดูกปลายแขนหัก พบบ่อยในเด็กเริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากการกระทำทางอ้อม เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
การพยาบาล ส่วนใหญ่เกิดจากอุบัติเหตุ เราต้องคำนึงถึง่วนอื่นๆที่อาจได้รับบาดเจ็บร่วมด้วย
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม โดยประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง เข้าเฝือกปูน ดึงกระดูก ผ่าตัก ORIF
การดึงกระดูก (Traction)
Over head traction หรือ Skeletal traction the upper limp ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน เป็นการเข้า traction ในลักษณะข้อศอกงอ 90 องศากับลำตัว
Dunlop's traction ใช้ในเด็กที่ไม่สามารถดึงให้เข้าที่ได้ หรือรายที่มีอาการบวมมาก
Skin traction ในรายที่มี facture shaft of humerus ในเด็กโต อายุมากกว่า 3 ขวบขึ้นไป traction แบบนี้อาจเกิดปัญหาการกด peroneal nerve ทำให้เกิด foot drop ได้
Russell's traction ใช้ในเด็กโตที่มี Fracture shaft of femur การทำ traction ชนิดนี้อาจเกิดปัญหาการผ้า sling ที่คล้องใต้ขาไปกดเส้นเลือดและเส้นประสาทบริเวณใต้เข่าได้
Bryant's traction ในเด็กที่กระดูกต้นขาหักตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบหรือน้ำหนักไม่เกิน 13 กิโลกรัม
การผ่าตัด Open reduction internal fixation (ORIF) เพื่อจัดกระดูกให้เข้าที่และอยู่นิ่งโดยใช้โลหะยึดไว้ อาจใช้ plate, screw, nail หรือ wire
เตรียมความพร้อมก่อนการผ่าตัด ด้านร่างกายและจิตใจ
การพยาบาลผู้ป่วยหลังกลับจากห้องผ่าตัด ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย จัดท่านอนราบไม่หนุนหมอน สังเกตอาการคลื่นไส้อาเจียน ประเมิน pain score ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย ประเมิน 6P
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกกำจัดการเคลื่อนไหว ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ ป้องกันแผลกดทับกระตุ้นการหายใจไม่ให้ปอดแฟบจากการนอนนานๆ ลดอาการท้องผูก
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระตูก ควยทำความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือก ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
โรคแทรกซ้อนและการป้องกัน ได้แก่ Volkman's ischemic contracture คือลักษณะรูปร่างของนิ้ว มือ และแขนใน ผิดปกติ สาเหตุจาก กล้ามเนื้อบริเวณ forearm ขาดเลือดไปเลี้ยงหรือมีน้อย แบ่งเป็น 3 ระยะ
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง และมีสีคล้ำ ข้อมือและข้อนิ้วแข็ง เนื่องจากไม่ได้ทำงานและจากการหดตัวของเยื่อบุข้อ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว pronator และ flexor ของแขน มือและนิ้ว ทำให้มือและนิ้วงิก ใช้การไม่ได้
ระยะเริ่มเป็น บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว เจ็บและปวด นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ ชา ชีพจรคลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ป้องกันโดยจัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุด ขณะที่หักเกิดขึ้นใหม่ๆ อย่างอข้อศอกมากเกินไป แนะนำให้ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา ควรนอนพัก ถ้าปวด บวม ชา ให้รีบหาหมอ
โรคคอเอียงแต่กำเนิด จากกล้ามเนื้อด้านข้างคอ sternocleidomastoid สั้นลง จากการที่เนื้อเยื่อบริเวณคอถูกกดขณะคลอด
อาการ มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียงและก้อนจะค่อยๆยุบลงไป การปล่อยให้คอเอียงนานๆ จะส่งผลให้กะโหลกศีรษะ ใบหน้าข้างที่กดทับกับพื้นที่นอนแบนกว่าอีกข้าง
การรักษา ยืดกล้ามเนื้อบริเวณที่หดสั้น การยืดโดยวิธีตัด จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน ยืดดดยห้เด็กหันศีรษะเอง สามารถจัดได้ ตอนให้นม ของเล่น หรือตอนนอน ถ้าการรักษาข้างต้นไม่สำเร็จหลังอายุมากกว่า 1 ปี ต้องทำการผ่าตัด
Syndactyly ผ่าตัดเพื่อป้องกันความผิดปกติของการพัฒนาก้าวหน้าเป็นเด็กเติบโตขึ้น ภาวะแทรกซ้อนคือ hallux varus อาจก่อให้เกิดความปวดและความยากง่ายในการสวมรองเท้า
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis) เกิดความพิการทางรูปร่างและผิดปกติของทรวงอกร่วมด้วย มีอาการซีด สมรรถภาพทางกายเสื่อม มีความผิดปกติของทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรภาพ คือ การเจริญเติบโตผิดปกติของกระดูกสันหลัง การอัมพาตของกล้ามเนื้อทำให้กระดูกเจริญเติบโตน้อย ไม่เท่ากันทั้งสองข้าง
การวินิจฉัย ซักประวัติ การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง ตรวจร่างกาย สังเกตความพิการ X-ray
อาการและอาการแสดง กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น
การรักษา แบบอนุรักษ์นิยมคือ กายภาพบำบัด บริหารร่างกาย และรักษาด้วยการผ่าตัด
ชื่อนางสาวจิดาภา พุ่มขจร เลขที่ 12 รหัส 613601013