Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
หมายถึง โครงสร้างของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน
หมายถึง การเคลื่อนของผิวข้อหลุดออกจากเบ้า
สาเหตุ
มักเกิดจากการได้รับอุบัติเหตุ จากแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
ปวด กดเจ็บ บวม มีร้อยจ้ำเขียว ลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
การได้รับอุบัติเหตุ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางรังสี
การรักษา
ระวังไม่ให้มีการบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาของโรค
ระยะแรกมุ่งลดความเจ็บปวด
จัดประดูกให้เข้าที่และดามกระดูก
ให้อวัยวะนั้นกลับมาทำงานให้เร็วที่สุด
ความแตกต่างของกระดูกเด็กกับผู้ใหญ่
แผ่นเติบโต (Growth Plate) มีความอ่อนแอกว่าเอ็น (Tendon) มักหักบริเวณ เอ็นหุ้มข้อ (ligament) และเยื่อหุ้มข้อ (Joint capsule)
เยื่อหุ้มกระดูกมีความแข็งแรง หุ้มกระดูกได้ดี กระดูกหัดในเด็กติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดูกสร้างกระดูกได้ดี กระดูกหักในเด็กติดเร็ว
การวินิจฉัยอาจไม่แน่ชัด เชื่อถือได้ยาก
การบวมของแขนขาเกิดขึ้นเร็ว
การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน (Ischemic changes) จากการใส่เฝือกแน่นเกิน อาจเกิด Volkman's ischemic contracture
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกและข้อ
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินการบาดเจ็บที่ได้รับ สังเกต คลำ ดู ความสัมพันและการเคลื่อนไหว
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
การพยาบาล
จัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือก ภายใน 24 ชั่วโมง
5PS, 6P
Pain การเจ็บปวด
Pulselessness ชีพจรเบา เย็น
Pallor ปลายมือปลายเท้าซีด เขียวคล้ำ
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ดึงกระดูก (Traction)
การพยาบาล
ดูแลให้ดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงให้พอกับน้ำหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ ต่อ 1 กิโลกรัม
น้ำหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระ ไม่แตะพื้นหรือข้างเตียง
จัดท่านอนให้เหมาะสม
สังเกตการไหลเวียนของเลือดส่วนปลายและการติดเชื้อบริเวณเหล็กดึงกระดูก
การผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
ผ่าตัดโดยใช้โลหะยึดไว้
การพยาบาล
ด้านร่างกาย
เตรียมผิวหนังเฉพาะที่
ดูแลความสะอาด อาบน้ำ แปรงฟัน
วัดสัญญาณชีพ
ประเมินอาการระบบประสาท
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ด้านจิตใจ
สภาพแวดล้อมภายในห้องผ่าตัด
บอกขั้นตอนการผ่าตัด
แนะนำญาติ
การปฏิบัติตัวหลังได้รับยาระงับความรู้สึก
การไออย่างมีประสิทธิภาพ
หลังกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินความรู้สึกตัว
ประเมินระดับคความเจ็บปวดด้วย pain score
ประเมินเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
ประเมินการไหลเวียนของอวัยวะส่วนปลาย
จัดท่ายกส่วนที่ผ่าตัดสูงกว่าระดับหัวใจ
ทำแผล
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง ลดการปวดบวม ให้เลือดไหลเวียนดี
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากการจำกัดการเคลื่อนไหว
ป้องกันข้อติดแข็ง กระตุ้นให้ออกกำลังกายบริเวณกล้ามเนื้อ ข้อต่าง ๆ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ โดยการเปลี่ยนท่าที่เหมาะสมอย่างน้อยทุก 2 hr
ลดการท้องผูก กระตุ้นให้เคลื่อนไหว ดื่มน้ำเพียงพอ
หายใจเข้าออกลึก เพื่อปอดขยาย
ประเมินการเกิดภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาลป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีการเปิดผิวหนังถึงกระดูก
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะ
รับประทานอาหารที่ช่วยสร้างเนื้อเยื่อ
การพยาบาลลดความเครียดวิตกกังวล
ประเมินสภาพทางจิตใจ
สร้างความมั่นใจ
จัดกิจกรรมเปิดโอกาสให้ระบาย
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
การพยาบาลบรรเทาปวด
ประเมินอาการปวด
จัดท่าให้ถูกต้อง
ดูว่าเฝือกคับหรือแน่นเกินไปหรือไม่
ให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
คลายสำลีที่พันถึงผิวหนังเด็ก
ยึด Kirschner wire หมั่นทำแผลจนกว่าจะถอด
การพยาบาลเมื่อกลับบ้าน
ดูแลแผลผ่าตัด ระวังไม่ให้เปียกน้ำ
ห้ามแกะเฝือกเอง
สังเกตอาการผิดปกติ รีบมารพ.ทันที
รับประทานอาหารที่มีประโยช เพื่อให้แผลหายดี
หมั่นออกกำลังกายกล้ามเนื้อและข้อเสมอ
Volkmann's ischemic contraction
แขนอยู่ท่าคว่ำมือ ศอกงอ ข้อมือพับลง นิ้วงอทุกนิ้ง กล้ามเนื้อลีบแข็ง อัมพาาต ข้อเกือบจะแข็ง
สาเหตุ
กล้ามเนื้อบริเวณ Forearm ขาดเลือดไปเลี้ยง เนื่องจากเส้นเลือดดำถูกกด เกิดจาก ปลายกระดูกหักชิ้นบน เลือดเป็นก้อน งอพับศอกมากเกินไป การเข้าเฝือก
ระยะเริ่มเป็น
บวมชัดที่นิ้ว เจ็บปวด นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ สีนิ้วขาวซี้ด หรือคล้ำ ชา คลำชีพจรไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวมตึง ผิวหนังพอง สีคล้ำจากมีเลือดปน มีอาการอัมพาต ข้อนิ้วแข็ง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือและนิ้ว นิ้วหงิกงอ ใช้งานไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าเร็วที่สุด
อย่างอข้อศอกมากเกินไป
ใช้ Slab ใส่ด้านหลังของแขน พันด้วยผ้าธรรมดา จะช่วยให้เฝือกขยายตัวได้บ้าง
การปฏิบัติตัว
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าหัวใจ สองสามวัน หรือจนกว่าจะยุบบวม
ถ้าบวมมาก และปวด แสดงว่าเฝือกรัดเกิน เลือดเดินไม่สะดวก รีบพบแพทย์
ถ้าเกิดอาการปวด บวม ชา ปรึกษาแพทย์เพื่อตัดเฝือก
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
คลำพบก้อนด้านคอที่เอียง ค่อยๆยุบลง ถ้าปล่อยไว้อาจเกิดศีรษะบิดเบี้ยว
วินิจฉัย
ตรวจร่างกาย ภาพรังสีที่คอ
การรักษา
การยืดโดยการดัด (passive stretch)
หันจัดให้คางสัมพันกับไหล่ข้างกล้ามเนื้อหดสั้น
ยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth)
หาวิธีให้เด็กหันหน้ามาทางที่กล้ามเนื้อคอหดสั้น
การใช้อุปกรณ์ช่วยพยุง (orthosis)
ผ่าตัด
อายุเหมาะสมคือ 1 - 4 ปี จะได้ผลดี หลังผ่าตัดใช้อุปกรณ์พยุงคอ
Polydactyly
นิ้วเกิน ไม่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ เป้าหมายผ่าตัดเพื่อปรับปรุงลักษณะที่ปรากฎ
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
การวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
ซักประวัติ การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ X-ray
อาการและอาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้น
การเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลำตัว ความจุในทรวงอกสองข้างไม่เท่ากัน
ข้อศอกกับเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
เอียงตัวไปด้านข้าง ปวดเมื่อหลังคดมาก
การรักษา
ป้องกันไม่ให้เป็นโรคมากขึ้น
แก้ไขลดความพิการ
ลดความปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
รักษาโดยการบำบัด บริหารร่างกาย หรือการผ่าตัด
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่มีภาวะสันหลังคด (Scoliosis)
แนะนำการปฏิบิบัติตัวก่อนและหลังผ่าตัด
แนะนำความรู้เกี่ยวกับโรค การรักษาและการปฏิบัติตน
บอกผู้ป่วยว่าต้องนอนพักที่โรงพยาบาลเพื่อรักษาตัวอย่างใกล้ชิด
อธิบายวิธีการพลิกตัวหลังผ่าตัด
แนะนำการรายงานความผิดปกติต่าง ๆ
ดูแลความไม่สุขสบายจากการปวดหลังผ่าตัดกระดูกสันหลัง
ป้องกันการติดเชื้อที่แผลและเกิดแผลกดทับ
แนะนำการปฏิบัติตัวในการใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว