Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล, นางสาวปุณยาพร เงาฉาย…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล
เด็ก
หมายถึง
คนที่มีอายุยังน้อย
ผู้ที่มีอายุต่ำกว่า18ปีบริบูรณ์
ผู้ที่มีอายุ7ปีแต่ไม่เกิน14ปี
ยังเด็กและอ่อนวัย
ความหมายด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
วัยของเด็ก
แบ่งตามระยะพัฒนาการ
Newborn
แรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant
อายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler
วัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age
วัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age
เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Aldolescent
วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก (Convention on the Right of the Child)
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิในด้านพัฒนาการ
เด็ก ทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับ
พัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ให้ความสำคัญกับการแสดงออกในด้านความคิดและการ
กระทำของเด็ก ในการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู่
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด ต้องต่อสู้กับโรคตลอดชีวิต
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการดูแลเน้นการรักษา
ระยะวิกฤต (Crisis)
เกิดในทันทีทันใดเฉียบพลัน รุนแรงมาก ใช้ในวงการแพทย์
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying)
สามารถอยู่ได้ประมาณ6เดือนหรือน้อยกว่านั้น
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม
(อายุ11-12ปีจนถึงวัยผู้ใหญ่)
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดี
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยแรกเกิดและวัยทารก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย
อายุ > 6 เดือนผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible)
เหมือนการนอนหลับ ท าให้กลัวการนอนหลับ
บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
วัยเรียน
เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีกไม่ได้
เรียนรู้มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า ตนเองอาจจะมีชีวิต เติบโต หรือตายจากไป
เข้าใจความเป็นตัวของตัวเอง
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
วัยรุ่น
เป็นตัวของตัวเองมาก ไม่ต้องการการถูกบังคับ
มองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง
พ่อแม่ควรให้การดูแลด้วยความรักความใส่ใจ แม้เด็กจะไม่ได้ร้องขอ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
เป็นภาวะวิกฤต ทำให้เด็กเกิดความเครียด ส่งผลต่อการปรับตัว โดยแตกต่างกันไป จะขึ้นกับปัจจัยต่อไปนี้
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ประสบการณ์เดิมที่เคยเข้ารับการรักษา
ความสามารถในการปรับตัวต่อความเครียดของเด็ก
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก
ทำให้เด็กรู้สึกไม่สุขสบาย ส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก
ถ้าต้องแยกเด็กกับครอบครัว จะทำให้เด็กขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากมารดา อาจส่งต่อพัฒนาการของเด็กได้
วัยเดิน
การดูแลรักษษอาจทำให้ต้องพรากจากพ่อและแม่ และเด็กยังไม่เข้าใจเหตุผล อาจทำให้คิดว่าถูกพ่อแม่ทิ้ง
เมื่อเจ็บป่วย พ่อแม่อาจระวังเกินไปจนทำให้เด็กไม่เริ่มทำอะไรด้วยตนเอง
วัยก่อนเรียน
เด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะมีความยากลำบากในการเรียนรู้
กรที่ต้องมาตรวจหรือรักษาและต้องอยู่ในโรงพยาบาลบ่อย เด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการถูกลงโทษ
วัยเรียน
ทำให้หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน การเล่นกีฬา และการที่จะทำอะไรได้เช่นเดียวกับเพื่อนกลุ่มเดียวกัน
ทำให้รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเอง
รู้สึกมีปมด้อย และถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยรุ่น
เด็กที่เจ็บป่วยบ่อย จะมีผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury andpain)
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว:การสูญเสียความสามารถในการควบคุม (loss of control)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความตาย
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ร้องตลอดเวลา จะหยุดร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้น เด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วยการร้องไห้ประท้วงรุนแรงมากขึ้นเมื่อมารดาจะจากไป เด็กจะปฏิเสธทุกอย่าง
ระยะสิ้นหวัง
(despair)
ร้องไห้น้อยลง เสียงครางโยเย ท่าทางอ่อนเพลีย อิดโรยอย่างน่าสงสาร และมีพฤติกรมถดถอย
เมื่อมารดามาเยี่ยม เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรง แสดงพฤติกรรมโมโห ทำให้เข้าใจผิดได้ว่า เมื่อมารดาไม่อยู่เด็กจะมีพฤติกรรมดีกว่า
ไม่ส่งเสริมให้มารดามาเยี่ยม ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่ผิด
ระยะปฏิเสธ
(denial)
ระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว เหมือนกับว่าเด็กปรับตัวได้ แต่เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
ไม่กล้าเสี่ยงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจบิดามารดาอีกต่อไป
Pain management
Critical care concept
Stress and coping
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย
Body image
Death and dying
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอำนาจต่อรอง
รู้สึกเศร้า
การจัดการการพยาบาลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
1. การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
ประเมินแบบแผนการดําเนินชีวิตและกิจวัตรประจําวันของเด็ก
ประเมินความคิดความรู้สึกเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของเด็ก
การวางแผนและการดําเนินการ
การจัดสิ่งแวดล้อม (environment) โดยทำบรรยากาศให้เหมือนบ้าน
การอํานวยความสะดวก(facilitative)
การประสานงาน (coordination)
การสื่อสาร(communication)โดยเฉพาะเมื่อต้องทําหัตถการทางการพยาบาลควรคํานึงถึงความเหมาะสมตามระยะพัฒนาการ
การให้การพยาบาลตามระยะพัฒนาการของเด็ก
3.การประเมินผล
การให้การพยาบาลแก่เด็กเป็นระยะ ๆ ทั้งนี้เพื่อให้ทราบความคิด ความรู้สึกของเด็กเพื่อให้เด็กได้รับการตอบสนองความต้องการให้ได้มากที่สุด ซึ่งข้อมูลที่ได้จากเด็กโดยตรงเป็นข้อมูลที่สําคัญอย่างมากต่อการพัฒนาคุณภาพทางการพยาบาล
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบ
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
การร่วมมือ (Collaboration)
การสนับสนุน (Support)
หลักการ
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุก
ระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จำเป็นและสมบูรณ์แก่พ่อแม่อย่างต่อเนื่อง และไม่ลำเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสม ในลักษณะของการสนับสนุน
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ
ของบุคคลและครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติ สนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารามณ์และเศรษฐฏิจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ และเคารพวิธีการแก้ไขปัญหาที่แตกต่างกัน
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติ วัฒนธรรม
กระตุ้นให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดให้มีความยืดหยุ่นและเข้าถึงความต้องการของครอบครัว
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
ควรถามเกี่ยวกับ
ความรุนแรงของความปวด
ตำแหน่งที่ปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด
ลักษณะการเจ็บปวด:
ผลกระทบต่อความปวด
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
เครื่องมือที่ใช้
CRIES Pain Scale
พฤติกรรม
ร้องไห้
O2forSa O2>95%
Vital signs
การแสดงออก
การนอนไม่หลับ
คะแนน 0,1,2
(NIPS)
สีหน้า
ร้องไห้
การหายใจ
แขน ขา
ระดับการตื่น
CHEOPS
ประเมินจาก
สีหน้า ร้องไห้ การเคลื่อนไหว ขา และการตอบสนองต่อการปลอบโยน
FLACC Scale
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
พยาบาลเป็นผู้ประเมิน
Faces scale
การใช้รูปภาพแสดงสีหน้าบอกความรู้สึกปวด
นิยมใช้ในเด็ก ผู้สูงอายุ และผู้ที่ไม่สามารถสื่อสารด้วยการพูดได้
Numeric rating scales
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
หลักการประเมินความปวด
หลักการประเมินความปวด
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง ควรดูแลเป็นพิเศษ
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคำถามนำอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง
บทบาทของพยาบาล
สร้างสัมพันธภาพที่ดี
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี
ระหว่างการประเมินบันทึกพฤติกรรม แนวคิด
สภาพอารมณ์ จิตใจ และบุคลิกภาพของผู้ป่วย
ถ้าผู้ป่วยไม่สามารถตอบข้อซักถามได้
อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด
นางสาวปุณยาพร เงาฉาย รุ่นที่36/1
รหัสนักศึกษา612001076