Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหัก
ความหมาย
โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกัน
ข้อเคลื่อน
ความหมาย
การเคลื่อนของข้อหรือหลุดออกจากเบ้า ส่งผลให้เส้นประสาท เนื้อเยื่อได้รับอันตราย
กระดูกเด็กมีลักษณะแตกต่างจากผู้ใหญ่
3.เด็กอายุน้อยกระดูกยิ่งติดเร็ว
4.การวินิจฉัยกระดูกหักในเด็กตรวจทางร่างกายอาจจะไม่แน่ชัด เชื่อถือได้ยาก
2.กระดูกหักในเด็กในเด็กจึงติดเร็วกว่าวัยผู้ใหญ่
5.การบวมของแขน ขา ในเ้ด็กจะเกิดขึ้นเร็วเมื่อกระดูกหัก แต่การบวมนี้หายได้เร็ว
growth plate มีความอ่อนแอกว่า tendonเมื่อมีการแตกหักจะแตกหักบริเวณนี้มากกว่า
6.การเปลี่ยนแปลงของระบบไหลเวียน ischemic changes
7.การเจริญเติบโตของเด็กเริ่มจากการทดแทนด้วยกระดูกปฐมภูมิ
สาเหตุ
เกิดจากการได้รับอุบัติเหตุนำก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง
อาการและอาการแสดง
บวมเนื่องจากมีเบือดออกบริเวณกระดูกหัก
รอยจ้ำเขียว
มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิ
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลักษณะผิดรูป
การติดของกระดูกเด็ก
เกิดขึ้นภายหลังกระดูกหักประมาณ 48 ชม.จะใช้เวลาในการเชื่อมกระดูกประมาณ6-7 วัน
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษาโดยไม่ผ่าตัด
ยกเว้น
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกหักในเด็ก ตามการแบ่งของ Salter ชนิดIII,IV
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักหลังจากการหัดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
ข้อเคลื่อนที่ไม่สามารถจัดเข้าโดยไม่ผ่าตัด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติเกี่ยวกับอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย
ลักษณะของกระดูกหัก
ลักษณะของข้อเคลื่อนมี 2 ลักษณะ
ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด
ข้อเคลื่อนออกจากกันเล็กน้อย
การรักษา
รักษาในเด็กภาวะฉุกเฉิน คือ ช่วยชีวิตเด็กเรื่องทางเดินหายใจ การเสียเลือด
หลักการรักษากระดูกและข้อเคลื่อน
ระวังไม่ให้กระดูกหักเพิ่มเติม
แก้ไขปัญหาและการพยากรณ์ของโรค
เป้าหมาย
ลดการเจ็บปวด
จัดกระดูกให้เข้าที่
ให้กระดูกเข้าที่และติดเร็ว
อวัยวะนั้นกลับมาทำงานได้เร็วที่สุด
กระดูกหักที่พบบ่อย
การเคลื่อนของกระดูกเรเดียส
กระดูกปลายแขนหัก
กระดูกข้อศอกหัก
กระดูกปลายขาหัก
กระดูกต้นแขนหัก
ภยันตรายต่อข่ายประสาท Brachial plexus
กระดูกไหปลาร้าหัก
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น
ภาวะคลอดติดไหล่
วินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ในผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่จ้าเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
การพยาบาลเด็กที่ได้รับบาดเจ็บของกระดูกและข้อ
การพยาบาลจึงต้องค้านึงถึงอวัยวะส่วนอื่นๆ ที่อาจได้รับบาดเจ็บด้วย
โดยเฉพาะระบบที่อาจท้าให้เด็กได้รับอันตรายจนถึงแก่ชีวิตได้
เช่น การหายใจ
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสังเกต คล้า ดูความสัมพันธ์ของอวัยวะการเคลื่อนไหว
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง ซึ่งประเมินได้จาก 5S หรือ 6P
Paresthesia ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถูกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Pallorปลายมือปลายเท้าซีด
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
Pulselessness ชีพจรเบา,เย็น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
แนะนำเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้้า
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
ดึงกระดูก( traction)
การดูแลให้การดึงกระดูกมีประสิทธิภาพตลอด
ดูแลแรงดึงสมดุลเพียงพอกับน้้าหนักผู้ป่วย 1/5 ปอนด์ต่อน้้าหนัก 1 กิโลกรัม
น้้าหนักที่ใช้ถ่วงแขวนลอยอิสระไม่แตะพื้นหรือข้างเตียง
ขณะดึงกระดูกควรจัดท่านอนของเด็กให้ถูกต้องตามชนิดของ Traction
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )