Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ และการพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ และการพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหากระดูกกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน
สาเหตุ
2.ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียม ดูดซึมแคลเซียมกลับได้น้อย
3.โรคไตบางชนิดที่ทำให้ดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟต เช่น Renal Tubular Insufficency
1.ความผิดปกติของการเผาผลาญวิตามิน ดี
4.ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการและอาการแสดง
ในเด็กเล็ก ความตึงตัวกล้ามมเนื้อน้อย กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น
ในเด็ก 1 ขวบ กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ รอยต่อกระหม่อมปิดช้า
หลังหนึ่งขวบ ขาโก่ง กระดูกสันหลังคด หลังค่อม
การรักษา
ให้วิตามินดี
รับประทานโปรตีนและแคลเซียม
รับแสงแดดช่วงเช้าและเย็น
ให้วิตามินดี 200 ต่อวันต่อน้ำหนักตัวสำหรับเด็กคลอดกำหนด
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึม เช่น ยากันชัก
รักษาแบบประคับประคอง
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจาการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายจากกระแสเลือด
การวินิจฉัย
ประวัติ มีอาการปวด มีอาการไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาการ อาจมีการบาดเจ็บเฉพาะที่ร่วมด้วย
การตรวจร่างกาย ปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ เช่น Culture ขึ้นเชื้อที่เป็นเหตุ
การตรวจทางรังสี
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
การผ่าตัด เอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก
ภาวะแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อตาย
กระทบต่อ Physis เป็นส่วนเจริญเติบโตของกระดูก ทำลายPhyseal plate ยับยั้งการเจริญเติบโตตามยาว
Septic arhritist
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มแทงเข้าไปในข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง จากการแพร่เชื้อโรคจากกระแสเลือด เชื้อที่เป็นสาเหตุส่วนใหญ่ เช่น แบคทีเรีย
การวินิจฉัย
ผลการตรวจทางรังสี
ผลแลป เจาะดูดน้ำไขข้อ ผล CBC
ลักษณะทางคลินิก เช่น ไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อ มักเป็นที่ ข้อเข่า ข้อสะโพก ข้อเท้า
การรักษา
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage
การให้ยาปฏิชีวนะ
ภาวะแทรกซ้อน
หัวกระดูกข้อสะโพกตายจากการขาดเลือด
ข้อถูกทำลาย
ข้อเคลื่อน
Growth plate ถูกทำลาย ทำให้การเจริญเติบโตตามความยาวกระดูกและการทำหน้าที่เสียไป
Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium Tuberculosis เข้าสู่ปอด จากการหายใจ ไอ จาม ของผู้ป่วยเชื้อเจริญเติบโตและแพร่กระจายผ่าน Lympho hematogenous ไปตามส่วนต่างๆของร่างกาย
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจทางรังสี
ลักษณะทางคลินิก คือ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง ผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อนทางกระดูกและข้อ
กระดูกสันหลังค่อม กดประสาทไขสันหลังจนอ่อนแรงหรืออัมพาต ปวดข้อ ผิวข้อ
Club Foot เท้าปุก
สาเหตุ
อาจเกิดจากยีน และปัจจัยส่งเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่ขณะตั้งครรภ์
แบบทราบสาเหตุ
ุ
1.1 positional clubfoot เกิดจาก uterus impaction affect
1.2 teratologoc clubfoot เป็ นชนิดที่มีความแข็งมาก พบใน Syndrome หลายชนิดเช่น arthogryposis multiplex congenita
1.3 neuromuscular clubfoot พบได้ทั้งแบบเป็ นตั้งแต่เกิด / ภายหลัง เช่นใน cerebral palsy , myelomeingocele , neurological injury , other neuromuscular disease
แบบไม่ทราบสาเหตุ
(ideopathic clubfoot) หรือ Ideopatic Talipes EquinoVarus
(ITCEV) พบตั้งแต่ก าเนิด
พยาธิ
เริ่มตั้งแต่ระยะสร้างกระดูกเท้า กลไกการสร้าง Catilage anlage ที่เป็นเนื้อเยื่อต้นแบบของกระดูกเท้าผิดปกติ
การวินิจฉัย
การดัดและใส่เฝือก
การผ่าตัด
Flat feet ฝ่าเท้าแบน
สาเหตุ
เป็นพันธุกรรมในครอบครัว
เกิดจากการเดินที่ผิดปกติ เช่น การเดินแบบเป็ดคือมีการบิดของเท้าเข้าข้างใน
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการฉีกขาด
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
อาการ
ผู้ป่วยอาจจะมีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าจะหนาผิดปกติ
รองเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
อาการขึ้นอยุ่กับความรุนแรงของความแบนราบ
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่แบนรุนแรง จะมีอาการปวดน่อง เข่า และปวดสะโพก
การรักษา
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่รองเท้ากว้างและมีขนาดพอดี
พบแทย์
Cerebrl Palsy ความพิการทางสมอง
สาเหตุ
ก่อนคลอด
มารดามีดรคแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์
อุบัติเหตุที่เกิดขึ้นกับมารดา
การติดเชื้อ
หลังคลอด
คลอดยาก
สมองกระทบกระเทือน
ขาดออกซิเจน
คลอดก่อนกำหนด
การรักษา
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
การใช้ยา
การผ่าตัด
การให้กำลังใจ
มะเร็งกระดูก Osteosarcoma
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณที่มีก้อนเนื้องอก
น้ำหนักลด
รับน้ำหนักไม่ไหว
ไข้
อาจมีกระดูกหักบริเวณนั้นๆ
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ระยะการมีก้อนเนื้องอก อาการปวด การเคลื่อนไหว
ตรวจร่างกาย น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การรักษา
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
การผ่าตัด
Omphalocele
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติของผนังหน้าท้อง ประกอบด้วยเยื่อบุช่องท้องและเยื่อ amnion ประกอบกันเป็นผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง ปกคลุมอวัยวะภายในที่ยื่นออกมา
การรักษา
Conservative
ใช้สารละลายฆ่าเชื้อ
Operative
การผ่าตัด
การเย็บผนังหน้าท้องปิด
ปิดผนังหน้าท้องโดยทำเป็นขั้นตอน
Gastroschisis การมีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
สาเหตุ
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิดเกิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังหน้าท้องภายหลังจากผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์แล้ว เกิดดารแตกทะลุของ hernia of umbilical cord
การวินิจฉัย
เมื่อคลอดพบว่าที่หน้าท้องทารกจะพบถุงสีขาวขุ่นบาง
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
กระดูกหัก
ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
ชนิดของกระดูกหัก
กระดูกไหปลาร้าหัก
อาการและอาการแสดง
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองด้านที่เจ็บ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็ก จะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่ง โดยมัดแขนข้อศอกงอ 90 องศา นาน 10-14 วัน
เด็กอายุมากกว่า 3 ปี ใช้าผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนข้อศอก 90 องศา ประมาณ 2-3 สัปดาห์
กระดูกต้นแขนหัก
ทารกแรกเกิด
มักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต
อาจเกิดล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง
กระดูกข้อศอกหัก
พบบ่อยในเด็ก เพราะเด็กพลัดตกหกล้มได้ง่ายและบ่อย เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยีดตรง หรือข้อศอกงอ
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
เป้นการเคลื่อนที่ของหัวกระดูกเรเดียส ออกมาจากข้อ radio-humeral ไม่หมด พบบ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เกิดจาการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขน
กระดูกต้นขาหัก
ช่วงกลางของกระดูกต้นขา เด็กจะปวดบริเวณข้างที่หัก บวมตรงตำแหน้ง
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด ได้แก่ การคลอดท่าก้น
การวินิจฉัย
แขนผิดปกติ เคลื่อนไหวได้น้อย
การรักษา
ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทใหม่ไม่จำเป็นต้องผ่าตัด
ข้อเคลื่อน
ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้ออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า ซึ่งส่งผลให้ เนื้อเยื่อที่อยู่โดยรอบกระดูก หลอดเลือด น้ำเหลือง เส้นประสาทและเส้นเอ็นได้รับอันตรายด้วย
การพยาบาลเด็กที่มีกระดูกหัก
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ โดยการสัมผัส คลำ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
ผ่าตัดทำ Open reduction internal fixation
ดึงกระดูก
Bryant's traction
Over Head traction
รักษากระดูกหักที่ต้นแขน ลักษณะข้อศอกงอ 90 องศาและในรายที่แขนหักแล้วบวมมากยังไม่สามารถ reduce และใส่เฝือกได้
Dunlop's traction
ใช้กับเด็กในราย Displaccd Supracondylar Fracture
Skin traction
ใช้ในรายที่ Facture shaft of femue
Russell's traction
ใช้ในรายที่ Facture shaft of femue บริเวณ Supracondyla region of femur
เข้าเฝือกปูน
จัดการเตรียมเด็กก่อนเข้าฝึก
ประเมินอาการภายหลัง 24 ชั่วโมง โดย 5 PS หรือ 6P
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจำกัดเคลื่อนไหว
กระตุ้นการออกกำลังกายบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่างๆ
ป้องกันแผลกดทับ เปลี่ยนท่าทุก 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้เด็กเคลื่อนไหว กินอาหารที่มีกากใย และดื่มน้ำเยอะๆ ป้องกันท้องผูก
หายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง ให้ปอดขยายตัวเต็มที่
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ประเมินอาการและอาการแสดง ที่บ่งบอกว่ามีการติดเชื้อ
ดูแลให้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
ทำความสะอาดบาดแผลก่อนเข้าฝือก
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ