Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายสะดือย้อย, image, image - Coggle Diagram
สายสะดือย้อย
การพยาบาล
- ดูแลให้นอนพักบนเตียงเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก
-
- ประเมินสภาพมารดาและทารกในครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย เช่น ทารกท่าผิดปกติ มีน้ำเดินก่อนการเจ็บครรภ์
- ตรวจภายในด้วยความนุ่มนวล ระมัดระวังไม่ให้ถุงน้ำแตก เพื่อประเมินการเกิดภาวะสายสะดือย้อย
- ถ้าตรวจพบสายสะดือย้อย ใช้นิ้วมือดันส่วนน ำไว้ไม่ให้เคลื่อนต่ าลงมา และจัดท่านอนให้ยกก้นสูงเพื่อลดการกดทับสายสะดือ
- ดูแลให้มารดาได้รับออกซิเจน เพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพิ่มขึ้น
- เตรียมการคลอดฉุกเฉินหรือเตรียมผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และรายงานแพทย์ เพื่อให้การช่วยเหลือโดยรีบด่วน
- อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการช่วยเหลือ เพื่อความร่วมมือและคลายความวิตกกังวล
- ประเมินสภาพจิตใจมารดาหลังคลอดในกรณีที่สูญเสียบุตร
-
อาการและอาการแสดง
- เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
- เสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ โดยหาสาเหตุอื่นไม่พบ
- คลำพบสายสะดือจากการตรวจภายใน อาจจะจับได้ชีพจรบนสายสะดือเต้นเป็นจังหวะ
- การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound) อาจจะช่วยในการวินิจฉัยสายสะดือย้อยชนิดForelying cord หรือ occult prolapsed cord ได้
-
ชนิดของสายสะดือย้อย
- สายสะดือย้อยลงมาต่ำกว่าปกติ หรือลงมาอยู่ข้างๆส่วนนำของทารกในครรภ์ สายสะดือส่วนนี้จะ
ถูกกดกับช่องทางคลอดได้เมื่อทารกเคลื่อนต่ำลง หรือเมื่อมดลูกหดรัดตัวถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้
(Occult prolapsed cord)
- สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ และถุง
น้ำคร่ำยังไม่แตก (Forelying
cord/Funic presentation / Cord presentation)
- สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ มักจะอยู่ในช่องคลอด หรือบางรายจะ
ออกมานอกช่องคลอดและถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว (Overt prolapsed cord / Prolapsed of cord
presentation)
-
การรักษา
การช่วยเหลือการคลอด
2.6 ในครรภ์หลังที่ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 7-8 เซนติเมตรขึ้นไปที่เป็นชนิด Forelying cordท่าของทารกปกติมีความก้าวหน้าของการคลอดเร็วทารกไม่มีภาวะขาดออกซิเจน (fetal distress) พยายามไม่ให้ถุงน้ำแตก อาจจะรอเพื่อให้คลอดเองทางช่องคลอดได้
2.5 ใช้เครื่องดึงสุญญากาศในรายที่เป็นครรภ์หลัง ปากมดลูกเปิดเกือบเต็มที่แล้ว และท่าศีรษะที่ไม่มีการผิดสัดส่วนของทารกกับช่องเชิงกรานมารดา
-
-
-
-
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
-
1.1 จัดให้ผู้คลอดที่ได้รับการวินิจฉัยว่าสายสะดือย้อยนอนในท่านอนหงายยกก้นสูง(Trendelenburg position),นอนตะแคงยกก้นสูง (Elevate Sim’s position), นอนในท่าโก้งโค้ง (Knee-chest position) ในกรณีที่ต้องเคลื่อนย้ายผู้คลอดเพื่อส่งต่อในระยะไกลๆเพื่อรักษาต่อ ควรให้นอนในท่าElevate Sim’s position
-
1.4 ถ้าสายสะดือมีแนวโน้มจะโผล่อกมานอกช่องคลอด ควรพยายามให้อยู่ในช่องคลอด เพราะอุ่นและไม่แห้ง ลดการหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm)
1.5 หากสายสะดือย้อยออกมานอกช่องคลอด ให้ใช้ก๊อซชุบน้ าเกลือ NSS คลุมปิดสายสะดือไว้ปูองกันไม่ให้สายสะดือแห้ง ลดการหดเกร็งของหลอดเลือด (vasospasm)
1.6 ท าให้กระเพาะปัสสาวะโปุงตึงโดยการใส่น้ าเกลือ 500-1,000 มิลลิลิตรทางสายสวนปัสสาวะเพราะเชื่อว่ากระเพาะปัสสาวะโปุงตัวขึ้นจะช่วยดันมดลูกและส่วนน าของทารก
คือ ภาวะที่สายสะดือลงมาอยู่ข้างๆ หรือ
ต่ำกว่าส่วนนำของทารกในครรภ์ หรือสายสะดือโผล่ออกมาภายนอกช่องคลอด
-
-