Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเรื่องกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเรื่องกระดูก
ติดเชื้อ
กระดูกอักเสบ (Ostemyelitis)
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ,การผ่าตัด
วินิจฉัย
การตรวจร่างกาย : มีปวด บวม แดง ร้อน เแพาะที่ที่มีพยาธิสภาพ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :
ESR
CPR มีค่าสูง
ผล Gram stain และ culture ขึ้นเชื้อที่เป็นสาเหตุ
CBC พบ Leucocytosis
การตรวจรังสี : Plain flim,Bone scan,MRI
ประวัติ : มีอาการปวด
เด็กเล็ก : แสดงออกโดยไม่ใช้เเขน ขา ส่วนนั้น ทารกจะนอนนิ่งไม่ขยับแขนขาข้างที่เป็น (pscudoparalysis)
เด็กโต : บอกตำเเหน่งที่ปวดได้ มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
สาเหตุุ
เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสุ่กระดูกจากจาการทิ่มแทงจากภายนอก หรือจากอวัยวะใกล้เคียง การแพร่กระจายของหลอดเลือด
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อตาย
กระทบต่อ physis เป็นส่วนเจริยเติบโตของกระดูก ทำให้กระดูกสั้นและโก่งผิดรูป
ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
สาเหตุ : เชื้อเข้าสู่ข้อ เช่น จากการทิ่มเเทงในข้อ หรือแพร่กระจายบริเวรใกล้เคียง จากการเเพร่เชื้อโรคจากกระเเสเลือด
การวินิจฉัย
ผล Lap : เจาะดุน้ำในข้อ,CBC,ESR,CRP สูงขึ้นเล้กน้อย
การตรวจรังสี
plain flim อาจพบช่องระหว่างข้อกว้าง
ultrasound บอกถึงภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือเคลื่อนหลุด
Bone scan/mRI ช่วยบอกถึงการติดเชื้อของกระดูก
ลักาณะทางคลินิก : มีไข้ มีการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2-3 วันแรกของการติดเชื้อที่ข้อ
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด ได้แก่ Arthrotomy and drainage มีข้อบ่งชี้ เพื่อระบายหนอง
อาการแทรกซ้อน
ข้อเคลื่อน (Dislocation)
ข้อถูกทำลาย (joint destruction)
Growth plate ถูกทำลาย
หัวข้อสะโพกต่ยจาการขาดเลือด
วัณโรคกระดูก (Tuberculous Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis)
สาเหตุ : เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสุ่ปอด โดยการไอ จาม ของผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง : จะเริ่มหลังจากติดเชื้อ 1-3 ปี โดยเชื้อจะไปทำลายให้กระดูกบางลงหรือแตกนอกกระดูก เกิดเป็นโพรงน้อง ไม่อักเสบ ไปทำลายกระดูกอ่อนผิวข้อ ที่กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลือง ทำให้เชื้อเข้าไปทำลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
มีประวัติใกล้ชิดกับผู้ป่วยวัณโรค
มีอาการปวดข้อขึ้นกับตำเเหน่งที่เป็น
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆ
กล้ามเนื้ออ่อนเเรง อัมพาต ชาขาเเละเเขน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CPR
CBC พบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก
esr สูง
ทดสอบ tuberculin test ผลบวก
การตรวจรังสี
plaint film
MRi
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด : การตรวจชิ้นเนื้อเยื่อ การผ่าตัดเพื่อระบายหนอง แก้การกดทับเส้นประสาท
อาการแทรกซ้อน : กระดูกสันหลังค่อมหรืออาการกดประสาทไขสันหลัง จนอ่อนเเรงเป็นอัมพาต (Pott's paraplegia) ปวดข้อ ข้อยึดติด ข้อเสื่อม ข้อพิการ
ไม่ติดเชื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
การรักษา
แบบประคับประคอง
ใช้หลักการรักษากระดุูกทั่วไป
รักษาสาเหตุ
ให้วิตามินดี
การวินิจฉัย
ปวดมากเมื่อขยับข้อ
ข้อบวม
มีอาการปวดข้อ
มีอาการทาง systemic โดยไม่พบพยาะิสภาพอื่นๆร่วมด้วย
อุณหภูมิร่างกายมากกว่า 38.3 องศาสตร์เซลเซียส
ตอบสนองดีต่อการใช้ยาปฏิชีวนะ
อาการและอาการแสดง
ความตึงตัวกล้ามเนื้อจะน้อยลง
กล้ามเนื้อหย่อน
อ่อนเเรง
หลังแอ่น
กะโหลกศีรษะใหญ่กว่าปกติ
รอยต่อที่กระหม่อนปิดช้า
สาเหตุ
ความผิดปกติจากการเผาผลาญเเคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตบางชนิดทำให้ไม่สามารถดูดกลับอนุมูลเเคลเซียมเเละฟอสเฟต
ความผิดปกติของการเผาผลาญ vit D
ภาวะฟอตเฟตต่ำ
การป้องกัน
รับประทานอาหาร โดยเฉพาะโปรตีนกับแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อน้ำหนักทารกคลอดก่อนกำหนด
ให้ร่างกายได้รับแสงแแดดช่วงเช้าเเละเย็น
ให้ออกกำลังกายกระตุ้นการสร้างกระดูก
ระวังและหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม
โรคเท้าปุก(Club Foot)
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
teratologoc clubfoot เป็นชนิดที่มีความแข็งเเรง
neuromuscular clubfoot พบได้เป็นตั้งแต่เกิด/หลังเกิด
positional clubfoot เกิดจาก uterus impactionaffect
ไม่ทราบสาเหตุ
ideopathic clubfoot พบแต่กำเนิด
อาการและอาการแสดง
Tendon และ Muscle : เอ็นและกล้ามเนื้อขาข้างที่มีเท้าปุกจะเล็กกว่าปกติ
Nerver และ Vessel : มีขนาดเล็กกว่่าปกติ พบสิ่งผิดปกติได้บ่อย
่joint capsule และ Ligament : จะหดสั้น
การตรวจวินิจฉัย
positional clubfoot : ขนาดเท้าใกล้เคียงคนปกติ
idiopatic clubfoot : ไม่สามารถหายเองได้ต้องได้รับการรักษา
การตรวจลักษณะรูปร่างเท้า : เท้าจิกลงบิดเอียงด้านใน ควรแยกจากเท้าปุกที่สามารถหายเองได้จากท่าของเท้าที่บิดขระอยู่ในครรภ์
การรักษา
การตัดเเละใส่เฝือก : อาสัยหลักการให้เท้าปกติ ควรใส่ตั้งแต่เเรกเกิด
การผ่าตัด
การผ่าตัดเนื้อเยื่อ(subtalar soft tissue) ทำในอายุน้อยกว่า 3 ปี
การผ่าตัดกระดูก(osteotomy) ทำในอายุ 3-10 ปี
การผ่าตัดเชื่อมกระดูก(triple fusion) ช่วงอายุ 10 ปีขึ้นไป
โรคผ่าเท้าแบน(Flat feet)
อาการ
มีตาปลาหรือผิวหนังฝ่าเท้าหนากว่าปกติ
รอยเท้าผู้ป่วยจะสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ในรายที่อาการรุนแรง จะปวดที่หน่อง เข่า เเละสะโพก
อาการขึ้นกับความรุนแรงของความแบนราบ
สาเหตุ
เกิดจาการที่ผิดปกติ เช่น เดินแบบเป็ด
เกิดจากเอ็นของข้อเท้ามีการแีกขาด
เป็นพันะุกรรมในครอบครัว
โรคเกี่ยวกับสมองเเละไขสันหลัง
การรักษา
อย่ารักษาตาปลาด้วยตัวเอง
ใส่แผ่นรองเท้าเสริม
ใส่รองเท้าที่กว้างและมีขนาดพอดี
อาจจะใช้ ultrasound หรือ laser เพื่อบรรเทาอาการเจ็บปวด
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชายเฉพาะ
สมองพิการ (Cerebral Palsy)
สาเหตุ
ก่อนคลอด
มารดาเป็นโรคแทรกว้อนขณะตั้งครรภ์
อาจมีสาเหตุมาจากการติดเชื้อ
อุบัติเหตุที่เกิดกับมารดาขณะตั้งครรภ์
ระหว่างคลอด/หลังคลอด
ปัญหาระหว่างคลอด : คลอดยาก สมองกระทบกระเทือน ขาดออกซิเจน ทารกคลอดก่อนกำหนด
ลักษณะ
3.Ataxic CP กล้ามเนื้อจะยืดหดอย่างไม่เป็นระเบียบ ทำให้ไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อได้
4.Mixed CP เป็นการผสมผสานทั้ง 3 แบบ
2.Spastic CP มีอาการกล้ามเนื้อเกร็งแน่น ไม่สามารถหดตัวได้ ลักษณะเเข็งถื่อ
้1.Athetoid CP มีอาการกล้ามเนื้อไม่ประสานกัน ทำให้เด็กเซล้ทง่าย
การรักษา
ป้องกันความผิดรูปของข้อต่างๆ
กายภาพบำบัด
อรรถบำบัด
ลดความเกร็งดดยใช้ยา
ยากิน กลุ่ม diazzepam
ยาเฉพาะที่ เช่น ยาฉีด
มะเร็งกระดูก(Osteosarcoma)
พบในเด็กมากกว่าผุ้ใหย่ พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง
อาการเเละอาการแสดง
มีไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งที่ผิดปกติ รับนำหนักไม่ได้ มักมีอุบัติเหตุ
น้ำหนักลด
อาจมีกระดุกหักบริเวณนั้น
ปวดบริเวรที่มีก้อนเนื้องอก
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ; MRI , CT เพือดุการแพร่กระจายของโรค
การตรวจร่างกาย : น้ำหนักตำเเหน่งของก้อน การเคลื่อนไหวของต่อมน้ำเหลือง
การวักประวัติ : ระยะเวลามีก้อนเนื้องอก อาการปวด และอาการเคลื่อนไหว
การพยาบาลป่วยกระดูกหักในเด็ก
Volkman's ischemic contractuer
สาเหตุ
เลือดแข็งจับกันเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป ในขระบริเวณนั้นยังบวมอยู่
ปลายกระดูกหักชิ้นบน
จากการเข้าเฝือกในระหว่างที่มีการบวมอยู่ จะทำให้เฝือกขยายตัวไม่ได้ ส่งผลให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก
อาการและอาการแสดง
กล้ามเนื้อเเขนลีบแข็ง
ข้อเกือบทุกข้อจะเเข็ง บางรายอาจจะกระดิกได้
อาจมีอัมพาต ถ้า median nerve หรือ ulnar nerve ถูกทำลาย
กล้ามเนื้อมือลีบ เหมือนกับมีอัมพาต
นิ้วจะงอทุกนิ้ว
ข้อ metacarpopealhalang กระดูกขึ้น หรือมี extension
ข้อมือพับลง
ข้อสอกอาจจะงอ
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ
ระยะการเกิด
ระยะเริ่มเป็น
นิ้วกางออกจากกัน กระดิกไม่ได้ การบวม ทำให้นิ้วเเข็ง
สีของนิ้วจะขาวซีด หรืออาจจะเป็นสีคลำ
เจ็บ เเละปวด
มีอาการชา
บวม เห็นได้ชัดที่นิ้ว
ชีพจร คลำไม่ได้ชัด หรือไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อ บวม ตึง เเข็ง เเละมีสีคล้ำ เนื่องจากมีเลือดปะปนอยู่ ผิวหนังพอง จึงทำให้เกิดความอัดดันภายในมาก เป็นเหตุให้กล้ามเนื้อถูกทำลายสลายตัว เปลื่ยนสภาพเป็น fibrous tissue และหดสั้นทำให้นิ้วเเละมือหงิกงอ
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
การหดตัวเกิดขึ้นที่กล้ามเนื้อ Pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้มือเเละนิ้วหงิกงอ ใช้การไม่ได้
แนะนำผู้ป่วยปฏิบัตให้ถุกต้องหลังเข้าเฝือก
ถ้าเกิดอาการปวด บวม หรือชา จะต้องรีบปรึกษาแพทย์เพื่อตัดเฝือกออกทันที
ถ้ามีอาการบวมมาก และมีอาการเจ็บปวด แสดงว่าเฝือกรัดเส้นโลหิต ทำให้เลือดเดินไม่สะดวก ควรรีบปรึกษาแพทย์
ยกบริเวณที่หักให้สุงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา ควรนอนพัก ยกแขนให้สุงประมาณ 2-3 วัน
โรคคอเอียงแต่กำเนิด(Congenital musclar)
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณที่หดสั้น
การยืดแบบให้เด็กหันศีรษะเอง (active streth) : โดยหาวิะีการให้เด็กหันหน้ามาด้านที่คอเอียงที่มีกล้ามเนื้อหดสั้น
การใช้อุปกณณ์พยุง (orthosis) : ปรับตำแหน่งสีรษะ
การยืดโดยวิธีดัด (passive stretch) : จัดท่าให้นอนหงายจัดให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน
การผ่าตัด
ถ้ายืดกล้ามเนื้อที่หดสั้นไม่ได้ผลภายหลัง 1 ปี ควรรับการรักษา โดยผ่าตัด bipolar release โดยอายุที่เหมาะสม ในช่วง 1-4 ปี
เป้าหมาย : การผ่าตัดเป็นมือในการปรับปรุงลักษณะที่ปรากฏ เพื่อป้องกันความผิดปกติจากการพัฒนาก้าวหน้าเป้นเด็กเติบโต
อาการ
มักคลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อข้างคอด้านที่เอียง และก้อนจะค่อยๆ ยุบลงไป การปล่อยให้มีภาวะคอเอียงอยู่นาน จะส่งผลให้กะโหลกศีรษะบิดเบี้ยวไม่สมดุล
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย : ลักาณะของผู้ป่วย ซักประวัติ
ภาพรังสีกระดูก
กระดูกสันหลัง(scoliosis)
อาการแสดง
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระเดียวกัน
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบเเละบาง
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากเเนวลำตัว ความจุในปอดไม่เท่ากัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของเเขนเเละเอวไม่เท่ากัน
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด
มีอาการปวดเมื่อหลังคดมาก ในเด็กอาจพบไม่บ่อยนัก
กระดูกสันหลังดค้งไปด้านข้าง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน
เริ่มมีอาการเมื่ออายุน้อยยิ่งมีความพิการมาก กระดูกสันหลังส่วนเอวมีพยากรณ์โรคดีกว่ากระดูกสันหลังคด
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย : สังเกตความพิการ ส่วนสูง น้ำหนักตัว แนวลำตัว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศษอื่นๆ : X-ray
การซักประวัติ : การผ่าตัด ความพิการของกระดูกสันหลัง
การรักษา
เป้าหมายการรักษา
ป้องกันเเละลดความเจ็บปวด
ปรับปรุงสมรรถภาพของปอดและหัวใจ
แก้ไขหรือลดกิจกรรม
ป้องกันภาวะเเทรกซ้อน
ให้กระดูกสันหลังสมดุลและเเข้งแรง
ป้องกันไม่ให้ดรคมากขึ้น
วิธีการรักษาที่ขึ้นกับอายุ ความโค้งเเละความก้าวหน้าของโรค
แบบอนุรักษ์ (Conservation) : กายภาพบำบัด,บริหารร่างกาย
การผ่าตัด : เป็นการรักษาสมดุลของลำตัว แก้ไขแนวตรงของร่างกาย รักษาระดับไหล่และสะโพก
การพยาบาลบุคคลวัยเด็กที่ภาวะสันหลังคด(scoliosis)
ชนิด
ชนิดที่ไม่มีการเปลื่ยนแปลงในเนื้อกระดูกสันหลัง (Non Stucturial scoliosis )
ไม่มีการเปลื่ยนแปลงที่กระดูกสันหลังหรือโครงสร้างที่เกี่ยวข้อง แก้ไขความคดได้ดดยการเอียงตัวด้านข้าง
ชนิดที่มีการเปลื่ยนแปลงของการเปลื่ยนแปลงของกระดูกสันหลัง (structural scoliosis)
มีการเปลื่ยนแปลงโครงสร้างของกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อรอบๆกระดูกสันหลังหรือทั้งสองอย่าง ถ้าไม่รักษาจะพิการไปตลอดชีวิต
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการพิเศาอื่นๆ ได้เเก่ การถ่ายภาพเอกว์เรย์ในท่ายืนตรงและด้านข้างตั้งแต่กระดูกทรวงอกถึงกระดุกก้นกบ เพื่อดูทิสทางการคด ดุอายุเปรียบเทียบกับอายุจริงของผุ้ป่วย
การตรวจร่างกาย : การสังเกตความพิการ แนวลำตัว ความสูง น้ำหนักตัว ความกว้างของเเขน ท่านั่ง ท่ายืน หรือทำ adam's forward bending tes
การซักประวัติถามเกี่ยวกับประวัติการเจ็บป่วยในอดีต : ประวัติผ่าตัดที่เคยได้รับ ข้อมูลความพิการของกระดุกสันหลัง ประวัติท้าวแสนปมในครอบครัว ความอ่อนเเรงของกล้ามเนื้อผลของความพิการต่อผู้ป่วยและครอบครัว
อาการและอาการแสดง
ความพิการของกระดุกสันหลังพบกระดุกหลังโค้งไปด้านข้างอาจเกิดโค้งทดเเทน
เมื่อให้ผู้ป่วยก้มตัวไปด้านหน้าจะมองเห็นตะโหงก (Hump) จากการหมุนกระดูกซี่โครง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจำกัด มักหายใจตื้น หายใจลึกได้ลำบาก
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวกลางลำตัว ความจุในทรวงอกข้างไม่สมมาตรกัน จากการหมุนของซี่โครงไปด้านหน้า
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา ส่วนด้านโค้งออกจะฝ่อลีบและบาง
ข้อศอกและขอบกระดูกเชิงกราน (liac Crest) ไม่อยู่ระดับเดียวกัน
สังเกตใส่เสื้อผ้าไม่พอดี
เกิดอาการปวดเมื่อหลังคดมาก แต่ไม่บ่อย
เริ่่มมีอาการ เมื่ออายุยิ่งน้อยจะยิ่งมีความพิการ และกระดุกสันหลังส่วนเอวมีพยากรณ์
ผุ้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง ระยะห่างของเเขนเเละเอวไม่เท่ากัน
การรักษา
การรักษาแบบไม่ผ่าตัด
เพื่อที่จะ "หยุด" หรือ"ชะลอ" โดยการใส่อุปกรณ์ตัดลำตัว (Brace)
การรักษาแบบผ่าตัด
มีข้อบ่งชี้เมื่อพบว่า มีมุมการคดของกระดูกสันหลังเกิน 45-50 องศา มีการเอียงของลำตัว เเละมีโอกาสคดเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
กระดุกหัก
สาเหตุุ
จากการกระตุ้นทางอ้อม เช่น หกล้ม เอามือยันพื้นกระดุกฝ่ามือไม่เเตกกลับไปแตกบริเวณเหนือข้อมือ
มักเกิดจาการได้รับอุบัติเหตุนำมาก่อนมีเเรงกระเเทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่น ถูกตี รถชน ตกจากที่สูง
อาการเเละอาการแสดง
บวมเนื่องจากมีเลือดออกบริเวณที่กระดูกหักหรือกระดุกเกยกัน
รอยจ้ำเขียว เนื่องจากมีเลือดวึมจากชั้นในขึ้นมายังผิวหนัง
อวัยวะส่วนที่ได้รับบาดเจ็บมีลัการะผิดรุป
มีอาการปวดและกดเจ้บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ : ซักเกี่ยวกับเรื่องการเกิดอุบัติเหตุที่เกิดขึ้น
การตรวจร่างกาย : ตรวจเหมือนเด็กทั่วไป และให้ความสนใจต่อส่วนที่ได้รับภยันตรายให้มาก
ลักษณะของกระดูกหัก : สังเกตลักษณะภายนอกว่าเป็นกระดุกหัก ชนิดมีบาดแผลหรือไม่มีบาดแผลมีกระดูกดผล่มาหรือไม่
ลักษณะข้อเลื่อน
ลักษณะที่ข้อเคลื่อนออกจากกันโดยตลอด
ข้อที่เคลื่อนออกจากกันเพียงเล้กน้อย
การรักษา
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับกระดูกนั้นๆ
เป้าหมายการรรักษา
ในระยะเเรกเเรกจะมุ่งลดความเจ้บปวด อาจช่วยได้โดยให้ยาลดปวด จัดให้กระดูกที่หักอยู่นิ่ง
จัดกระดูกให้เข้าที่เเละดามกระดูกให้มีแนวกระดูก (alignment) ที่ยอมรับได้จนกระดูกที่หักติดดี
ให้กระดูกที่เข้าที่ดีเเละติดเร็ว
ให้อวัยวะนั้นกลับทำงานได้เร็วที่สุด
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
กระดูกที่หักบ่อย
ชนิด
กระดูกต้นเเขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิด : เกิดในรายที่ที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ทำคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
เด็กโต : อาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระเเทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวมช้ำ เวลาจับไหล่หรือเคลื่อนไหวจะเจ้บปวด
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส (Transient subluxation of radial head)
พบได้บ่อยในเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี เกิดจากการหยอกล้อ แล้วดึงแขนหรือหิ้วแขนเด็กขึ้นมาตรงๆในขณะที่ข้อสอกเหยียดและเเขนท่อนปลายคว่ำมือ
กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture) : พบบ่อยในเด็ก
เกิดดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอเด็กจะปวดเป็นอย่างมาก
กระดูกปลายเเขนหัก
พบได้บ่อยในเด็กตั้งแต่เริ่มหัดเดินตั้งแต่เริ่มหัดเดินไปจนถึงวัยรุ่น เกิดจากหกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
กระดูกไหปลาร้า (fracture of clavicle) : เกิดขึ้นกับเด็กมากที่สุด
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย ไหล่ตก
Crepitus คลำได้เสียงกรอบแกรบ
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า แขนที่ดีประคองข้างที่เจ็บ
การรักษา : ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงเเขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อสอกงอ 90 องศาให้ติดกับลำตัว พันนาน 10-14 วัน
กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
พบได้ทุกวัย โดยเฉพาะอายุ 2-3 ปี ส่วนมากจะเกิดกับเด้กชายมากกว่า เพราะซุกซนกว่า
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด (birth palsy)
การวินิจฉัย : จาการสังเกตเห้นเเขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา : ผู้ป่วยส่วนใหญ่มักจะมีการฟื้นตัวของเส้นประสาทโดยไม่ต้องผ่าตัด
สาเหตุ : เกิดจากข่ายประสาทถุกดึงยึด
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
กิจกรรมทางการพยาบาล
1.ประเมินลักษณบาดเจ็บ : โดยสังเกต คลำดูความสัมพันธ์ของอวัยวะการเคลื่อนไหวข้อต่าวๆการยกขึ้นงอหรือเหยียด ตรวจสอบความตึงตัว อาการเกร็งของกล้มเนื้อ
2.เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่วตามแผนการรักษา
การเข้าเฝือก
การจจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง ซึงประเมินได้จาก 6P
Pallor ปลายมือปลายเท้าวีด หรือเขียงคล้ำ
Paresthesir ชา ขาดความรู้สึก
Paralysis เส้นประสาทถุกกด เคลื่อนไหวไม่ได้
Pulselessness ชีพจรเยา, เย็น
pain มีอาการเจ็บมากกว่าเดิม
Puffiness or Swelling มีอาการบวมมากขึ้น
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
การยกหรือเคลื่อนย้ายเด็ก ต้องระวังเฝือกหัก
แนะนำเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
ดึงกระดูก (Traction)
การผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORLF)