Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน โรงพยาบาล, น.ส.ธวัลรัตน์ นุชเครือ…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล
ความหมายเด็ก
พจนานุกรม
ผู้อายุเกิน7ปีเต็มแต่ไม่เกิน18ปีเต็ม
ผู้อายุ15ปีลงมา
ตามกฏหมายแพ่งและพาณิชย์คือผู้อายุไม่ครบ18ปีต็มและยังไม่สมรส
ผู้มีอายุไม่เกิน18ปีเต็ม
คนที่มีอายุยังน้อย
อ่อนวัย
ด้านสุขภาพ
บุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
แบ่งตามระยะพัฒนา
การช่วงวัยของเด็ก
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก(Convention on
the Right of the Child)
วันที่ 20 พฤศจิกายนของทุกปีเป็น"วันสิทธิเด็ก"
มีทั้งหมด 4 ด้าน
สิทธิในด้านพัฒนาการ
ให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุขและเด็กทุกคนต้องได้รับการศึกษาขั้น
พื้นฐาน 12 ปี
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ให้ความสำคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการ
กระทำของเด็กร่วมตัดสินใจเรือ่งตนเอง
สิทธิที่จะได้รับ
การปกป้องคุ้มครอง
เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบและเด็กที่ลี้ภัยจากอันตรายเข้ามา เด็กพิการทั้งทางร่างกายและจิตใจ ได้รับการส่งเสริมให้พึ่งพาตนเองได้
สิทธิในการมีชีวิต
เด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดและพัฒนาการของเด็กอย่างปลอดภัย เด็กทุกคนมีสิทธิติดตัวมาตั้งแต่เกิด
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย
(Death / Dying)
ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงเสียชีวิตและพยากรณ์อยู่ได้ประมาณ 6 เดือนหรือน้อยกว่า
ระยะเรื้อรัง
(Chronic)
รักษาไม่หายขาดต้องสู้กับโรคตลอดชีวิตกระทบการปรับตัวจองบุคคลและครอบครัว
ระยะวิกฤต (Crisis)
มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการดูแลเน้นการรักษา ดูแลประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ระยะเฉียบพลัน
(Acute)
ในทันทีทันใดเฉียบพลัน รุนแรงมาก
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา
(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1
ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2
สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้น
ปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3
การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4
ภายในร่างกาย
ประเภท 0
ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม
(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )
ประเภทที่ 5
ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทำงานไม่ดีหรือไม่ทำงาน
ประเภทที่ 6
เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย
วัยเดินและวัยก่อนเรียน
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible)
เหมือนนอนหลับเด็กกลัวการนอนคิดว่าจะไม่ตื่น
บางคนเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
วัยแรกเกิดและวัยทารก
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex
เพื่อให้ตนเองมีชีวิตรอด
อายุ < 6 เดือนไม่เข้าใจความหมาย
เชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัสกลิ่น เสียง จะ
ร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายต่างๆ
อายุ> 6 เดือนผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
ไม่ปล่อยให้ตายทรมานและตายเพียงลำพัง
วัยเรียน
เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีกไม่ได้
เรียนรู้มากขึ้นเรื่อยๆ ว่า ตนเองอาจจะมีชีวิต เติบโต หรือตาย
สามารถจินตนาการเรื่องความตายเข้าใจว่าตนต้องตาย
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
สนใจพิธีการในงานศพ
กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลที่รัก
วัยรุ่น
เป็นตัวของตัวเองมากไม่ต้องการบังคับ
มองความตายเป็นเรื่องไกลตัว ยอมรับความตายของตนเองยาก
ที่สุดเหมือนการลงโทษ
พ่อแม่หรือผู้ดูแลควรให้ความรัก ความอบอุ่น ตอบสนองความต้องการแม้ไม่ได้ขอ
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การปรับตัวของเด็กและครอบครัว
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญในการเจ็บป่วยครั้งก่อน
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
ผลกระทบของความ
เจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยก่อนเรียน
มีความยากลำบากในการเรียนรู้ คิดว่าเป็นการถูกลงโทษจากการที่ตนทำไม่ดี
วัยเดิน
วัยอิสระไม่เคยแยกจากพ่อแม่อาจทำให้ต้องแยกและเด็กไม่เข้าใจเหตุผลอาจคิดว่าถูำกทิ้ง
วัยเรียน
รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเองรู้สึกมีปมด้อยและถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยทารก
ความไม่สุขสบายส่งผลต่อความต้องการทั่วไปของทารก
เด็กตาบอดกระทบความผูกพันระหว่างแม่ลูก ขาดการกระตุ้นระบบประสาท
วัยรุ่น
ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสีย
ความสามารถในการควบคุม (loss of control)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา
(body injury and pain)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
ความตาย
การพยาบาลเด็กแต่ละ
ระยะของการเจ็บป่วย
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรัง
และระยะสุดท้าย
Death and dying
Body image
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบ
พลันและระยะวิกฤติ
Critical care concept
Pain management
Stress and coping
Separation anxiety
ระยะสิ้นหวัง
(despair)
ความสิ้นหวังแสดงออกโดย อาการโศกเศร้า
เสียใจอย่างลึกซึ้ง แยกตัวอยู่เงียบ ๆ ร้องไห้น้อยลง
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมากยิ่งมารดา
มาเยี่ยมเด็กจะปฏิเสธทุกอย่าง
ระยะปฏิเสธ
(denial)
เด็กหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัวเก็บกด
ความรู้สึกที่มีต่อมารดาไม่สนใจมารดา
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อ
การเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรง
ของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอ านาจต่อรอง
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ความรู้สึกเศร้า
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้
ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
หลักการดูแลเด็กโดย
ใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและ
ครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดเเข็งและ
มีลักษณะเฉพาะรวมทั้งวิธีเผชิญปัญหา
เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของครอบครัว
ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอำนาจ (Empowerment) ของ ครอบครัว
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่
จำเป็นแก่บิดามารดาต่อเนื่อง
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการพยาบาล
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งทางวาจาและลายลักษณ์อักษร
ตอบข้อสงสัยของบิดามารดา
อธิบายคำศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวให้เข้าใจ
เคารพยอมรับในความหลากหลายของครอบครัว
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่าง
บิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับ
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และให้ความไว้วางใจ
มีการสื่อสารในทางที่ดี เปิดเผย และต่อเนื่อง
สื่อสารท าความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
วางแผนการดูแลรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิด
เครือข่ายผู้ปกครอง
สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่ายกลุ่มแพทย์และผู้ปกครอง
ให้คุณค่าความสำคัญของการช่วยเหลือระหว่างครอบครัว
ส่งต่อครอบครัวไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือ
ส่วนคงที่ในชีวิตเด็กตอนบุคลากร
และระบบสุขภาพเปลี่ยน
ให้ความสำคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่าสำคัญ
ให้ความสำคัญและช่วยเหลือกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว
สนับสนุนครอบครัวให้ทำหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยในโรงพยาบาล
ร่วมกับครอบครัวในการค้นหาทางดูแลเลือกต่างๆ
จัดบริการให้มีความยืดหยุ่นเข้าถึงได้
และตอบสนองความต้องการครอบครัว
สนับสนุน/กระตุ้นให้เกิดการดูแลแบบสหสาขา
จัดหาวิธีการและทางเลือกของการรักษาให้กับบิดามารดา
องค์ประกอบที่สำคัญ
การร่วมมือ (Collaboration)
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
เคารพและยอมรับในความแตกตางทางวัฒนธรรม
การสนับสนุน (Support)
Pain
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
ควรถาม
ตำแหน่งที่ปวด
ผลกระทบต่อความปวด
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด
ความรุนแรงของความปวด
ลักษณะการเจ็บปวด:
ปัจจัยที่ท าให้ปวดมากขึ้น ลดลง
เครื่องมือ
CHEOPS (Children’s Hospital
of Eastern Ontario Pain Scale )
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัวคะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ;
Cry ; Consolability Scale)
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัวคะแนน0-10
CRIES Pain Scale
ประเมินพฤติกรรม
Faces scale
ใช้กับเด็กเล็กหรือคนชราหรือไม่สามารถสื่อสารด้วยคำพูดได้
Numeric rating scales
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10กับเด็กตั้งแต่วัยเรียนขึ้นไป
Pain assessment
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
หลักการประเมินความปวด
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง โดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทำกิจกรรม
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน และหลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และควรใช้วิธีเดียวกันตลอดการให้การพยาบาลนั้นๆ
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุม
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
เลี่ยงคำถามให้บดบังข้อเท็จจริงหรือคำถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้า
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม แนวคิด สภาพอารมณ์ จิตใจ
และบุคลิกภาพของผู้ป่วย เพื่อเป็นข้อมูล
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ผู้ป่วยไม่สามารถตอบคำถามได้อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแล
ใกล้ชิดหรือสังเกตพฤติกรรม
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้ค าพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
Preparation for Hospitalization
and Medical Procedures
Preparing Toddlers/
Preschoolers
Stressors
Being in contact with unfamiliar people
Painful procedures
Loss of comforts of home, family
Having to stay in strange bed/room
Being left alone
Medical equipment that looks scary
Nursing
Tell the truth
Establish “procedure free zones”
Simple explanations
Stay with child during hospitalization
Interactive play with dolls
Read books about going to hospital
Preparing School Age
Stressors
Pain
Needles/shots
Loss of control
Dying during surgery
Thinking he/she is in hospital because he/she is being
punished
Being away from school/friends
Nursing
Give as many choices as possible
Read books
Have child explain back their understanding
Explain benefits of surgery
Have someone stay with child as much as possible
Let child know it is acceptable to cry and be afraid
Make sure child knows why is having surgery in words they
understand
Take tour
Preparing Teenager
Stressors
Pain
Fear of surgery and risks
Dying during surgery
Having a part of his/her body damaged or changed in
appearance
Fear of the unknown
Being away from school/friends
Fear of what others will think about them being sick in hospital
Loss of control
Nursing
Let them know it’s acceptable to cry/be afraid
Be patient with mood swings – allow them to be alone if needed
Be truthful
Bring comfort/game items from home
Honor privacy requests
Journal
Ask friends to visit/send cards
Read books
Allow teen to be part of decision making process
Preparing Infants
Stressors
Seeing strange sights, sounds, smells
New, different routines
Having many different caregivers
Interrupted sleep
Separation from parents
Day and night confusion
Nursing
Let nursing staff know about baby’s schedule
Parents remain calm
Bring favorite security item
Keep routines
Be patient with infant
Distract, rock, comfort
น.ส.ธวัลรัตน์ นุชเครือ รุ่น36/1 เลขที่45
รหัสนักศึกษา612001046
อ้างอิง:อ.วิภารัตน์ ยมดิษฐ์.การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล.[สืบค้นวันที่ 22 พฤษภาคม 2563].
https://classroom.google.com/u/0/c/NzMzNjU4Njc4NDla/m/MTMyMjgzMzk3OTk3/details