Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก, นางสาวลดาพร นุชุสดสวาท เลขที่66 รหัส…
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
:red_flag:
การติดเชื้อในกระดูกและข้อ(Bone of Joint infection)
:red_flag: ข้ออักเสบติดเชื้อ (septic arthritis)
การวินิจฉัย
>>มีไข้ อัเสบข้อ ปวด บวม แดงร้อน เจาะดูดน้ำไขข้อ ผล CBC พบ ESR,CRP สูงเล็กน้อย<<
การรักษา
>>ให้ยาปฏิชีวนะ,ผ่าตัด Arthrotomy and drainage<<
สาเหตุ
>>ถูกทิ่มแทง เชื้อแบคทีเรียเข้าสู่ข้อและกระจาย<<
ภาวะแทรกซ้อน
>>Growth plate ถูกทำลาย,ข้อเคลื่อน(Dislocation),ข้อถูกทำลาย(joint destruction), หัวกระดูกข้อตะโพกตายขาดเลือด(avascular necrosis)<<
:warning:
วัณโรคกระดูกและข้อ(Tuberculosis Osteomyelitis and Tuberculous Arthitis)
ลักษณะทางคลีนิก
>>อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำๆตอนบ่ายหรือเย็น ต่อมน้ำเหลืองโต<<
การรักษา
>>ให้ยาต้านวัณโรค,ผ่าตัด ตรวจชิ้นเนื้อ ผ่าตัดระบายหนอง<<
อาการและอาการแสดง
>>อาการจะเริ่มแสดงหลังติดเชื้อ 1-3 วัน กระดูกถูกทำลายแ บางลง กระดูกที่แตกจะเป็นโพรงหนอง กระดูกสันหลังเชื้อจะเข้าทางท่อน้ำเหลืองจากต่อมน้ำเหลือง<<
สาเหตุ
>>เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าสู่ปอด จะเจริญเติบโต แพร่ลุกลามอยู่ตามอวัยวะต่าง<<
อาการแทรกซ้อนกระดูกและข้อ
>>กระดูกสันหลังค่อม กดประสาทไขสันหลัง อ่อนแรงหรืออัมพาต<<
:warning:
กระดูกอักเสบติดเชื้อ (Osteomyelitis)
การวินิจฉัย
>>ปวด บวม แดง ร้อน เฉพาะที่ มีพยาธสภาพผิดปกติ<<
การรักษา
>>ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์,ผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกตายออก<<
สาหตุ
>>เชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก การแพร่กระจายทางกระแสเลือด<<
อาการแทรกซ้อน
>>กระดูกเนื้อและเนื้อเยื่อตาย,กระทบ physisที่เป็นส่วนการเจริญเติบโต<<
การวินิจฉัย
>>ต้องพบเชื้อที่เป็นสาเหตุ ถ้าไม่พบจะต้องมีอาการ มีอุณหภูมิ >38.3 องศา ปวดข้อมาก ข้อบวม มีอาการทาง systemic<<
:red_flag:
ภาวะการหดดรั้งของกล้ามเนื้อภายหลังการขาดเลือด (Volkmann’s ischemic contracture
) แขน มือ นิ้วมิอหงิกงอก
ลักษณะ
แขนอยู่ในท่าคว่ำมือ(pronation)
ข้อมือพับลง (palmar flemion)
นิ้วงอทุกนิ้ว กล้ามเนื้อมือและแขนลีบ
สาเหตุ
ปลายกระดูกหักชิ้นบน
เลือดแข็งจับเป็นก้อน
งอพับข้อศอกมากเกินไป
จากการเข้าเฝือก เฝือกคับแน่นเลือดไหลเวียนไม่ดี
ระยะต่างๆ 3 ระยะ
2.ระยะอักเสบกล้ามเนื้อ
>>กล้ามเนื้อ บวม ตึง แข็ง มีสีคล้ำ<<
3.ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
>>กล้ามเนื้อ pronator และ flexor ของแขน มือ และนิ้ว ทำให้หงิกงอฝช้งานไม่ได้<<
1.ระยะเริ่มเป็น
>>นิ้วบวมแข็ง ปวด กระดิกไม่ได้ สีนิ้วซีด ชา คลำชีพจรได้ไม่ชัด<<
การป้องกัน
จัดกระดูกให้เข้าที่โดยเร็วที่สุดขณะที่หักใหม่ๆ
ไม่ควรงอข้อศอกมากเกินไปขณะใส่เฝือก
ใช้ slab ใส่ทางด้านหลังของแขนแล้วพันด้วยผ้าพันธรรมดา
แนะนำการปฏิบัติตัวหลังเข้าเฝือก
ยกบริเวณที่หักให้สูงกว่าระดับหัวใจตลอดเวลา
หากมีอาการ ปวด บวม ชา ควรรีบปรึกษาแพทย์
:red_flag:
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
2.ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคลำไส้
3.ภาวะฟอสเฟฟสต่ำ ขาด Alkaline phosphatase
1.ความผิดปกติของการเผาผลาญ Vit D
อาการและอาการแสดง
>>ความตึงตัวของกล้ามเนื้อน้อย อ่อนแรง หลังแอ่น กะโหลกศรีษะแบนราบ กะโหลกนิ่ม ขาโก่ง กระดูกสันหลังคดค่อม ท่าเดินคล้ายเป็ด<<
การรักษา
1.รักษาแบบประคับประคอง
2.ให้วิตามินดี ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้า
3.รับประทานอาหารที่มีโปรตีนและแคลเซียม
4.เลี่ยงการใช้ยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก ยาลดกรด ยาระบาย ยาขับปัสสาวะ
กระดูกหักที่พบบ่อย
5.กระดูกปลายแขนหัก เช่น หกล้มเอามือเท้าพื้น ตกจากที่สูง
7.ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด(birth palsy)
การคลอดท่าก้น ภาวะคลอด เช่น ติดไหล่ เด็กมีน้้าหนักมากและการคลอดที่ใช้เวลานาน
ุ6.กระดูกต้นขาหัก (fracture of femur)
1.กระดูกไหลปลาร้าหัก (Fracture of clavicle
) พบมากสุดในเด็ก < 10 ปี เกิดจากการคลอดติดไหล่
4.การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
(Transient subluxation of radial head pulled elbow
)
3.กระดูกข้อศอกหัก (Supracondylar fracture)
พบบ่อยในพลัดตกหกล้ม
2.กระดูกต้นแขนหัก (Fracture of humerus)
พบในทารกแรกเกิด
การพยาบาล
ส่วนมากเกิดจากอุบัติเหตุ ต้องคำนึงระบบหายใจ เสียเลือด การบาดเจ็บอวัยวะภายในจะต้องได้รับความช่วยเหลือก่อนตามหลัก ABCDEF
2.เคลื่อนย้ายอย่างระมัดระวัง
3.จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนรักษา
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก( traction)
ผ่าตัดท้า open reduction internal fixation ( ORIF )
การเตรียมผู้ป่วยก่อนผ่าตัด
1.เตรียมผิวหนังเฉพาะที่ ดูแลทำความสะอาดรา่งกาย
2.ตรวจวัดสัญญาณชีพ ประเมินอาการระบบประสาทและหลอดเลือด
3.ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ/ยา/เอกสารเซ็นยินยอม/ผลLap/ผล X-ray
การพยาบาลผู้ป่วยหลังผ่าตัด
1.ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
2.ประเมินระดับความเจ็บปวด Pain scale
3.ประเมินปริมาณเลือดออกบริเวณแผลผ่าตัด
4.ประเมินการไหลเวียนเลือด blanching test
5.ทำแผลทุกวัน จนกว่าจะตัดไหม
การพยาบาลป้องกันภาวะแทรกซ้อน
2.ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล สิ่งคัดหลั่ง อาการบวมแดง
1.ทำความสะอาดแผลก่อนเข้าเฝือก
3.กระตุ้นให้เด็กมีการออกกำลังบริเวณกล้ามเนื้อและข้อต่างๆ
:red_flag:
เท้าปุก (Club Food)
ลักษณะ
ข้อเท้าจิกลง(equinnus) ส้นเท้าบิดเข้าใน(varus) ส่วนกลางและเท้าด้านในบิดงุ้มเข้าใน(adduction and cavus)
การวินิจฉัย
>>เท้าจิกลงบิดเอียงเข้าด้านใน<<
สาเหตุ
>>ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด<<
การรักษา
>>การตัดและใส่เฝือก,การผ่าตัดเนื้อเยื่อและกระดูกและผ่าตัดเชื่อมข้อกรดูก<<
:red_flag:
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
อาการแสดง
>>กระดูกสันหลังโค้งไปทางด้านหลัง กระดูกสะบักสองข้างไม่เท่ากัน รวงอกเคลื่อนไหวจำกัด หายใจตื้นๆ กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นหนา ด้านโค้งจะฝ่อลีบบาง<<
การพยาบาล
1.พลิกตัวหลังผ่าตัดดดยให้ไหล่และสะโพกพลิกไปพร้อมกัน (logrolling)
2.ให้นอนบนเตียงประมาณ 2 สัปดาห์หลังจากนั้นแพทย์จะใส่เฝื่อกและให้เดินได้
3.ดูแลความไม่สุขสบาย ประเมินความปวด จัดท่านอนราบ หมอนรองใต้เขา นอนตะแคงใช้หมอนรองใต้ขาบน
4.ให้ยาแก้ปวดตามแผนรักษา
5.ป้องกันการติดดเชื้อที่แผลและเดิดแผลกดทับ
6.แนะนำการปฏิบัติตัวหลังใส่อุปกรณ์ดัดตัว
การรักษา
ไม่ผ่าตัด
>>ใส่อุปกรณ์ดัดลำตัว Brace ในเด็กอายุ <12 ปี<<
ผ่าตัด
>>ใช้โลหะดามกระดูกสันหลัง จัดกระดูกให้เข้าที่ ให้กระดูกเชื่อมกัน<<
:red_flag:
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
*
ศรีษะเอียงไปด้านใดด้านหนึ่ง กล้ามเนื้อข้างคอ sternocleidomastoid ที่ยึดเกาะระหว่างกระดูกหลังหูกับกระดูกส่วนหน้าของกระดูกไหปลาร้าหดสั้นลง ทำให้เอียงไปด้านที่หดสั้น ใบหน้าจะบิดตรงข้าม กล้ามเนื้อที่เสียหายจะเป็นพังผืด กล้ามเนื้อจะหดสั้นลง
อาการ
>>คลำพบก้อนที่กล้ามเนื้อคอด้านที่เอียง<<
การรักษา
การยืดกล้ามเนื้อ
การยืดโดยดัด (passive stretch)
จัดท่านอนหงายให้หูข้างตรงข้ามกับกล้ามเนื้อหดสั้นสัมผัสกับไหล่ข้างเดียวกัน
การยืดแบบใหเด็กศรีษะหันเอง (active streth)
การใช้อุปกรณ์พยุง (orthosis)
ปรับตำแหน่งศรีษะ
การผ่าตัด
เหมาะสมในช่วงอายุ 1-4 ปี
กระดูกเด็กแตกต่างจากผู้ใหญ่
เยื่อหุุ้มกระดูก(periosteum ) แข็งแรงสร้างกระดูกได้ดี กระดูกหักจึงติดเร็ว
เยื่อบุโพรงกระดดูก(endosteum) สร้างกระดูกได้เร็ว
(Growth plate) อ่อนแอกว่าเอ็นหุ้มข้อและเยื่อหุ้มข้อ
แขนขาจะบวมเร็ว หลังกระดูกหักหรือข้อเคลื่อน
ตำแหน่งที่พบบ่อย คือ กระดูกต้นนแขน กระดูกแขนท่อนปลายเหนือข้อศอก
อาการและอาการแสดง
ปวดกดเจ็บ บริเวณที่มีพยาธิสภาพ
บวมจากมีเลือดออกบริเวณที่หักหรือเกยกัน
มีรอยจ้ำเขียว และอวัวยส่วนที่บาดเจ็บจะมีลักษณะผิดรูป
หลักกการรักษากระดูกหักและข้อเคลื่อน
แก้ไขตามปัญหาและพยากรณ์โรคที่เกิดขึ้น
1.ระวังไม่ให้กระดูกหักหรือเคลื่อนเพิ่ม
รักษาตามเป้าหมายลดความเจ็บปวด จัดกระดูกให้เข้าที่และติดเร็วที่สุด และให้อวัยวะกลับมาทำงานได้เร็ว
:red_flag:
นิ้วเกิน(polydactyly) ,นิ้วติดกัน(syndactyly)
การรักษา
>>โดยการผ่าตัด<<
ภาวะแทรกซ้อน
>>hallux varus เกิดความเจ็บปวด และยากเวลาใส่รองเท้า<<
:red_flag: ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการและอาการแสดง
>>ความรุนแรงขึ้นอยู่กับความแบนราบ อาจจะมีตาปลาหนา ปวดฝ่าเท้า ในรายที่แบนรุนแรงจะปวดน่อง เข่าและปวดตะโพก<<
สาเหตุ
>>พันธุกรรม,การเดินผิดปกติเหมือนเป็ด เอ็นข้อเท้าฉีกขาด,โรคเกี่ยวกับสมองและไขสันหลัง<<
การรักษา
>>ใส่รองเท้าที่กว้างและขนาดพอดี อย่ารักษาตาปลาเอง ใช้แผ่นรองเท้าเสริม<<
:red_flag: มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการแสดง
>>ปวดบริเวณก้อนเนื้องอก มีไข้ น้ำหนักลด การเคลื่อนไหวผิดปกติ<<
การรักษา
>>ผ่าตัด,เคมีบำบัด,รังสีรักษา<<
การพยาบาล
>>ให้ยาตามแผนการรักษา<<
:red_flag:
ความผิดปกติของผนังหน้าท้อง(Omphalocele)
การรักษา
>>รักษาแบบ conservativeใช้สารละลายฆ่าเชื้อ, ผ่าตัดเย็บปิดผนังหน้าท้อง<<
ลักษณะทางคลีนิก
>>หลังคลอดทารกกลางท้องจะมีถุง omphalocele ติดอยู่กับผิวหนัง ตัวถุงเป็นรูปโดม ผนังบางมองเห็นอวัยวะภายใน น้ำหนักน้อย<<
:red_flag:
ผนังหน้าท้องแยกออกจากกัน(Gastroschisis)
ผิดปกติตั้งแต่กำเนิดเป็นช่องแคบยาวที่ผนังท้องหลังผนังช่องท้องพัฒนาสมบูรณ์ เกิดการแตกทพละของ hermia of umbilical cord ตำแหน่งด้านซ้ายขั้วสะดือ
การวินิจฉัย
หน้าท้องทารกมีถึงขาวขุ่นบาง เห็นอวัยวะภายในชัดเจน
การพยาบาล
ประเมินภาวะทั่วไปต่างๆ ,ทำแผลให้สะอาด หมาๆ ไม่รัดแน่นเกินไป เพื่อป้องกันการติดเชื้อ,
นางสาวลดาพร นุชุสดสวาท เลขที่66 รหัส 613601071 ห้อง2A