Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะมดลูกแตก
(Uterine rupture / Rupture of the uterus)
Untitled5,…
ภาวะมดลูกแตก
(Uterine rupture / Rupture of the uterus)
ความหมาย :red_flag:
ภาวะที่มีการฉีกขาดของผนังมดลูก ในขณะตั้งครรภ์หลังจากทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังอายุครรภ์ 28 สัปดาห์ และเกิดการฉีกขาดระหว่างตั้งครรภ์ ระหว่างเจ็บครรภ์ หรือระหว่างการคลอด โดยไม่รวมการแตกหรือฉีกขาดในการตั้งครรภ์นอกมดลูก หรือการทะลุของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ์
🌻🌼ลักษณะของมดลูกแตก
Complete rupture
มดลูกแตกสมบูรณ์ รอยแตกทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง (peritoneum) มดลูก
แตกลักษณะนี้ ทารกมักจะหลุดเข้าไปอยู่ในช่องท้อง
Incomplete rupture
มดลูกแตกไม่สมบูรณ์ รอยแตกไม่ทะลุชั้น peritoneum คือ มีการฉีกขาด
ของชั้นกล้ามเนื้อมดลูกเท่านั้น ส่วนชั้น peritoneum ยังคงปกติดีอยู่
Dehiscence
อาจไม่พบอาการอะไรเลยในรายที่เคยผ่าตัดมดลูก แผลเก่าอาจปริแยกจากกันโดยเยื่อหุ้มรกยังไม่แตก ซึ่งอาการอาจดำเนินอย่างค่อยๆ เป็นค่อยๆ ไป และในระยะคลอดมดลูกปริอาจจะกลายเป็นมดลูกแตกได้
-
สาเหตุ : :pencil2:
รอยแผลผ่าตัดเดิม จากแผลผ่าท้องคลอด หรือแผลผ่าตัดอื่นๆ เช่น การผ่าตัดเอาเนื้องอก ในมดลูกออก ซึ่งประมาณครึ่งหนึ่งของมดลูกแตกเกิดขึ้นในรายที่มีแผลที่ตัวมดลูก
-
-
เคยผ่านการตั้งครรภ์ และการคลอดบุตรจ านวนมาก (grand multiparty) จากผลการศึกษาพบว่ารายที่เคยคลอดบุตร 7 ครั้งขึ้นไป มีโอกาสเกิดมดลูกแตกสูงกว่ารายที่คลอดบุตรน้อยกว่าถึง 20 เท่า
-
-
การคลอดติดขัด (obstructed labor) จากการผิดสัดส่วนระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน(cephalopelvic disproportion), contracted pelvis, hydrocephalus ทารกอยู่ในท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง มีก้อนเนื้องอกขวางอยู่ เช่น เนื้องอกรังไข่หรือมดลูก ครรภ์แฝด
-
-
-
การวินิจฉัย 🧨🎇
ซักประวัติ👉👉👉 ปวดท้องอย่างเฉียบพลัน คลื่นไส้ อาเจียน shock ทั้งที่ไม่มีเลือดออกมาทางช่องคลอด ร่วมกับ มีประวัติเคยได้รับการผ่าตัดคลอด คลอดยาก หรือได้รับยาเร่งคลอด
-
🚑🚑การรักษา
ดูเเลให้ NPO แก้ไขภาวะshock ถ้ามีภาวะ shock ให้ ringers lactate solution เตรียมเลือดให้พร้อมเเละออกซิเจน
การผ่าตัดเปิดช่องท้อง (exploratory laparotomy) ไม่ว่าทารกจะมีชีวิตหรือไม่ เพื่อแก้ไขสาเหตุของมดลูกแตก
-
การเย็บซ่อมแซมหรือตัดมดลูก ขึ้นอยู่กับพยาธิสภาพบริเวณรอยแตกของมดลูก และความต้องการมีบุตรอีกหรือไม่ รายที่เย็บซ่อมแซมอาจพบความเสี่ยงต่อมดลูกแตกซ้ำในการตั้งครรภ์ครั้งต่อไป
ถ้าเลือดออกอีกอาจต้องทำผ่าตัด เพื่อผูก hypogastric arteries ทั้งสองข้างร่วมด้วย ภายหลังการตัดมดลูกออก
-
-
-
-
การพยาบาล🔸🔶🔸
หญิงตั้งครรภ์ที่มีประวัติคลอดยาก ได้รับการทำสูติศาสตร์หัตถการในระยะตั้งครรภ์ เเนะนำให้หญิงฝากครรภ์มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
-
ในกรณีที่มีการตั้งครรภ์ผิดปกติหรือมีภาวะเเทรกซ็อนของการตั้งครรภ์เช่น ท่าขวาง เคยผ่าตัดที่มดลูก ควรรายงานเพื่อเพื่อพิจารณาการผ่าตัดคลอด
-
ระยะคลอด💥💘
-
ตรวจการหดรัตัวของมดลูกทุก 15 นาที เพื่อประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ถ้าพบว่าผิดปกติ คือinterval น้อยกว่า 2 นาที duration มากกว่่า 90 วินาที มดลูกแบ่งเป็นสองลอนหน้าท้องเเข็งตลอดเวลา ฟังเสียงหัวใจทารกไม่ได้ยิน ควรรายงานเเพทย์
-
-
-
ด้านจิตใจ❤❤
-
-
ในกรณีที่ทารกเสียชีวิตให้การยอมรับเเละให้โอกาสมารดาเเละครอบครัวเเสดงอาการโศกเศร้า หากต้องการดูทารก ควรอนุญาต
-
-
-