Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
สายสะดือย้อย (Prolapsed of the umbilical cord), Prolapse1, Prolapse2,…
สายสะดือย้อย (Prolapsed of the umbilical cord)
ชนิดของสายสะดือย้อย
(Forelying cord/Funic presentation / Cord presentation) สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ากว่าส่วนนาของทารกในครรภ์ และถุงน้าคร่ำยังไม่แตก
(Overt prolapsed cord / Prolapsed of cord presentation) สายสะดือย้อยลงมาอยู่ต่ากว่าส่วนนาของทารกในครรภ์ ถุงน้าคร่าแตกแล้ว
(Occult prolapsed cord) สายสะดือย้อยลงมาต่ากว่าปกติ เมื่อมดลูกหดรัดตัวถุงน้ำคร่ำอาจจะแตกหรือไม่แตกก็ได้
สาเหตุ
ทารกไม่ครบกาหนด
การตั้งครรภ์หลัง
การตั้งครรภ์แฝด / ครรภ์แฝดน้า
การเจาะถุงน้ำหรือถุงน้ำแตกก่อนที่ส่วนนำจะลงสู่ช่องเชิงกราน
ภาวะที่มีการผิดสัดส่วนของส่วนนาทารกกับช่องทางคลอด
สายสะดือยาวกว่าปกติ
ทารกท่าผิดปกติ เช่น ท่าก้นชนิดมีเท้ายื่นเป็นส่วนนำ ท่าขวาง
รกเกาะต่ำ
อาการและอาการแสดง
เห็นสายสะดือโผล่พ้นช่องคลอดออกมา
เสียงหัวใจทารกในครรภ์ผิดปกติ
คลำพบสายสะดือจากการตรวจภายใน
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (ultrasound)
ผลกระทบ
ผลกระทบต่อมารดา
ด้านจิตใจของมารดาถ้าทารกในครรภ์เสียชีวิต
ผลกระทบต่อทารก
ทารกจะเสียชีวิตจากการขาดออกซิเจน
การรักษา
การช่วยเหลือการคลอด
กรณีที่ทารกในครรภ์เสียชีวิต ให้ดำเนินการคลอดทางช่องคลอด
Breech extraction
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
ใช้เครื่องดึงสุญญากาศ
ช่วยคลอดด้วยคีม
ในครรภ์หลังที่ปากมดลูกเปิดตั้งแต่ 7-8 เซนติเมตรขึ้นไป ให้คลอดเองทางช่องคลอดได้
การช่วยเหลือแบบฉุกเฉิน
1.1 จัดให้ผู้คลอดที่ได้รับการวินิจฉัยว่าสายสะดือย้อยนอนในท่านอนหงายยกก้นสูง (Trendelenburg position), นอนตะแคงยกก้นสูง (Elevate Sim’s position), นอนในท่าโก้งโค้ง (Knee-chest position)
1.2 สอดมือเข้าไปในช่องคลอด แล้วดันส่วนนาไว้ไม่ให้ส่วนนำเคลื่อนลงมากดสายสะดือ
1.3 ให้ออกซิเจนแก่มารดา
1.4 ถ้าสายสะดือมีแนวโน้มจะโผล่อกมานอกช่องคลอด
1.5 หากสายสะดือย้อยออกมานอกช่องคลอด ให้ใช้ก๊อซชุบน้ำเกลือ NSS คลุมปิดสายสะดือไว้ ป้องกันไม่ให้สายสะดือแห้ง ลดการหดเกร็งของหลอดเลือด
1.6 ทำให้กระเพาะปัสสาวะโปุงตึง
การพยาบาล
ถ้าตรวจพบสายสะดือย้อย ใช้นิ้วมือดันส่วนนาไว้ไม่ให้เคลื่อนต่าลงมา และจัดท่านอนให้ยกก้นสูง
ดูแลให้มารดาได้รับออกซิเจน เพื่อให้ทารกได้รับออกซิเจนเพิ่มขึ้น
ตรวจภายในด้วยความนุ่มนวล ระมัดระวังไม่ให้ถุงน้ำแตก
เตรียมการคลอดฉุกเฉินหรือเตรียมผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง และรายงานแพทย์
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์
อธิบายให้มารดาเข้าใจเกี่ยวกับการวางแผนการช่วยเหลือ
ดูแลให้นอนพักบนเตียงเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก
ประเมินสภาพจิตใจมารดาหลังคลอดในกรณีที่สูญเสียบุตร
ประเมินสภาพมารดาและทารกในครรภ์ ที่มีภาวะเสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย เนื่องจากมีน้ำเดินก่อนการเจ็บครรภ์
ทารกในครรภ์ขาดออกซิเจน เนื่องจากเกิดภาวะสายสะดือย้อย
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือย้อย เนื่องจากทารกอยู่ในท่าผิดปกติ
มารดาและครอบครัวมีความเศร้าโศก เนื่องจากการสูญเสียทารก