Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและ การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช…
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจและ
การพยาบาลผู้ป่วยขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
จำแนกตามวิธีของ Mapleson
Pressure cycled ventilator ควบคุมด้วยความดันลม
Volume cycled ventilator ควบคุมด้วยปริมาตรลม
Time cycled ventilator ควบคุมด้วยเวลาการหายใจเข้า
4.Flow cycled ventilator ควบคุม ด้วยปริมาตร การไหลของลม
วงจรพื้นฐานของเครื่องช่วยหายใจ
Gas inlet คือตำแหน่งที่ก๊าซป้อนเข้าเครื่อง แบ่งออกเป็นสองทางคือทางเข้าของออกซิเจนและทางเข้าของอากาศ
Machine หรือตัวเครื่อง
เครื่องทำความชื้น
Simple jet nebulizer
Heated humidifier
Inspiratory pathway เป็นท่ออากาศออกจากเครื่องทำความชื้นเพื่อส่งเข้าสู่ปอด
Expiratory pathway เป็นท่อนำอากาศที่ออกจากปอดเพื่อทิ้งออกสู่บรรยากาศ
Expiratory valve เป็นลิ้นซึ่งเปิดปิดได้ตามจังหวะการหายใจ
วิธีการช่วยหายใจ
1.Control mechanical ventilation
2.Assisted Control ventilation
3.Synchonized intermittent mandatory ventilation ( SIMV )
4.Pressure support
5.Positive end expiratory pressure
6.Continuous Positive airway pressure
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ความหมาย
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจ
การหยุดใช้เครื่องช่วยหายใจอย่างทันที หรือลดการช่วยหายใจในผู้ป่วยที่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจลงอย่างช้าๆ จนผู้ป่วยกลับมาหายใจได้เอง
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
กระบวนการที่ทำให้ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจกลับมาหายใจได้เอง โดยไม่ต้องพึ่งพาเครื่องช่วยหายใจอีกต่อไป
เกณฑ์การหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Clinical factors
Pulmonary gas exchange
Pulmonary mechanics
ความพร้อมทางด้านจิตใจ
ระดับความรู้สึกตัวดี
ไม่มีภาวะทุพโภชนาการ
ใช้ยานอนหลับ หรือยาแก้ปวดลดลง
การหย่าเครื่องช่วยหายใจประกอบด้วย
ขั้นตอนการหย่าจากการช่วยหายใจของเครื่อง
ขั้นตอนการหย่าจากออกซิเจน
การหย่าจากเครื่องช่วยหายใจเป็นขั้นตอนที่สำคัญและต้องกระทำเป็นอันดับแรกเมื่อผู้ป่วยสามารถหายใจได้เองโดยไม่ต้องใช้เครื่องช่วยหายใจจึงพิจารณาการหย่าออกซิเจนตามลำดับ
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Conventional T- piece method
1.1 single T- piece trial
ผู้ป่วยหายใจด้วย T-piece รวดเดียวตลอด นานเกิน 1-2 ชั่วโมง แล้ว extubation ได้
1.2 Intermittent T- piece trial
ผู้ป่วยหายใจด้วย T- piece เป็นระยะสั้นๆ สลับการพักหายใจด้วยเครื่องและยืดเวลาของ
T-piece ยาวขึ้นเมื่อผู้ป่วยหายใจเองได้ดี
Intermittent mandatory ventilation (IMV )
เป็นการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยไม่ต้องปลดเครื่องช่วยหายใจออกจากผู้ป่วย ตั้งอัตราการหายใจของเครื่องให้ช้าลง เพื่อทิ้งช่วงให้ผู้ป่วยหายใจเองสลับกับจังหวะการหายใจของเครื่องและกำหนดให้จังหวะการหายใจเข้าของเครื่องตรงกับจังหวะการหายใจเข้าของผู้ป่วยเอง
3.Pressure support ventilation (PSV)
เป็นวิธีที่ให้ผู้ป่วยควบคุมอัตราหายใจ อัตราไหลของลม และ I : E เองเครื่องจะช่วยผู้ป่วยในแง่ของInspiratory pressure support เท่านั้น
Continuous positive airway pressure ( CPAP )
เป็นการช่วยหายใจแบบ ช่วยทำให้ทางเดินหายใจมีแรงดันบวกตลอดทางเดินหายใจ ทั้งหายใจเข้า และหายใจออก
ภาวะที่เป็นเครื่องบ่งชี้ว่าควรยุติการหย่าเครื่องช่วยหายใจได้แก่
ความดันโลหิตเพิ่มหรือลดจากเดิม มากกว่า 20 mm Hg.
ชีพจรหรืออัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มหรือลดลง มากกว่า 20 ครั้ง/นาที
ระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนไป
O2 Saturation < 90 %
EKG มี arrhythmia