Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม
-
-
ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อต่างๆมีการยืดขยายมาก จึงทำให้ส่วนต่างๆ ได้แก่ คอมดลูก พื้นเชิงกรานช่องคลอดและฝีเย็บหย่อนตัว
-
-
-
-
-
-
การวินิจฉัย
-
อัตราการเปิดขยายของปากมดลูกครรภ์แรกมากกว่า 5 เซนติเมตร/ชั่วโมงและครรภ์หลังเปิดมากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่ทุก 2 นาทีหรือบ่อยกว่านั้นและรุนแรงระยะเวลาของการหดรัดตัวนานมากกว่า 90 วินาที หรือไม่มีการคลายตัวในระยะที่ควรเป็นระยะพัก
-
การพยาบาล
-
ให้การดูแลตามอาการ
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจแบบตื้นๆ เร็วๆ เบา ๆ เข้าออกทางปากและจมูกเพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
ใช้ผ้าสะอาดกดบริเวณฝีเย็บ พร้อมทั้งใช้มืออีกข้างกดศีรษะทารกให้ก้มลงก่อนที่ศีรษะทารกจะคลอด เพื่อป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ในกรณีที่มารดาไม่สามารถหยุดเบ่ง และศีรษะทารกคลอดออกมาแล้ว ให้กางขามารดาออก เพื่อป้องกันศีรษะทารกถูกหนีบ
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและจมูกทารกออก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ
ระยะหลังคลอดให้การดูแลอย่างใกล้ชิด ในกรณีที่มีการฉีกขาดของช่องทางคลอด และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี เพื่อป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ และดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา เพื่อป้องกันการติดเชื้อหลังคลอด
อาการและอาการแสดง
-
-
ตรวจภายในพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิด 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ครรภ์หลังปากมดลูกเปิด 10 เซนติเมตร หรือมากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
การรักษา
-
รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ควรหยุดให้และดูแลอย่างใกล้ชิด อาจให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก รายที่มีการคลอดเฉียบพลันภายหลังคลอด แพทย์มักให้ยาปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อและให้ยา methergin หลังคลอดเพื่อป้องกันการตกเลือด
การผ่าตัดคลอด ทำในรายที่มีภาวะแทรกซ้อนจากภาวะมดลูกแตก (uterine rupture) หรือน้ำคร่ำอุดตันในกระแสเลือดของผู้คลอด (amniotic fluid embolism)
-
ภาวะแทรกซ้อน
-
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก
เลือดออกในสมอง (subdural hemorrhage) อาจเกิดมาจากศีรษะทารกมากระทบกับแรง
ต้านของ พื้นเชิงกราน ช่องคลอดและฝีเย็บอย่างรวดเร็ว
อาจมีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป ทารกไม่สามารถยกมือได้ แขนข้างที่
เป็นจะบิดไปติดกับลำตัว ฝ่ามือหันไปทางด้านหลัง กางแขนออกไม่ได้ ภาวะนี้เรียกว่า Erb’palsy
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน (asphyxia) เนื่องจากรกลอกตัวก่อนกำหนด หรือจากการที่มดลูกหดรัดตัวอย่างรุนแรงและรวดเร็ว
-
-
-
-
-
-
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วผิดปกติ ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ 3 ชั่งโมง หรือประมาณ 2-4 ชั่วโมง และมีการเปิดขยายของปากมดลูก ในระยะปากมดลูกขยายเร็ว 5 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในผู้คลอดครรภ์แรก (1 เซนติเมตรทุก 12 นาที) และมากกว่า 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง ในผู้คลอดครรภ์หลัง (1 เซนติเมตรทุก 6 นาที) เป็นผลจากแรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี ความผิดปกติของมดลูกที่แรงมาก