Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
โรคกระดูกอ่อน (Ricket)
สาเหตุ
ความผิดปกติของการเผาผลาญวิตามินดี
ความผิดปกติของการเผาผลาญแคลเซียมจากโรคของลำไส้
โรคไตทำให้ไม่สามารถดูดกลับแคลเซียมและฟอตเฟต ทำให้ฟอตเฟตต่ำ
อาการและอาการแสดง
ส่วนหลังของกระโหลกศีรษะแบนราบลง กระโหลกนิ่ม หน้าผากนูน ฟันขึ้นช้า ผมร่วง
การรักษา
แบบประคับประคอง คือ ใช้หลักการรักษากระดูกหักทั่วไป
การรักษาสาเหตุ คือ ให้วิตามินดี
การป้องกัน
ให้ร่างกายได้รับแสงแดดช่วงเช้าเย็น
รับประทานอาหารโปรตีนและแคลเซียม
ให้วิตามินดี 200 หน่วยต่อน้ำหนักตัว
ออกกำลังกาย กระตุ้นการสร้างไขกระดูก
ระมัดระวังยาที่ขัดขวางการดูดซึมแคลเซียม เช่น ยากันชัก
Bone and Joint infection
การติดเชื้อในกระดูกและข้อ
การวินิจฉัย
อุณหภูมิร่างกาย สูงกว่า 38.3 องศาเซลเซียส
มีอาการปวดข้อ ปวดมากเมื่อขยับข้อ ข้อบวม
ตอบสนองดีต่อยาปฏิชีวนะ
Osteomyelitis
มีการติดเชื้อที่กระดูกท่อนยาว
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา เข้าสู่กระดูกจากการทิ่มแทงจากภายนอก
การวินิจฉัย
เด็กเล็กไม่ใช้อวัยวะส่วนนั้น
ตรวจร่างกาย มีปวด บวม แดง ร้อน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ พบเชื้อที่เป็นสาเหตุ
ตรวจทางรังสี MRI
การรักษา
ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษาของแพทย์
การผ่าตัดเอาหนอง ชิ้นเนื้อ กระดูกที่ตายออก
ข้ออักเสบติดเชื้อ (Septic Arthritis)
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู่ข้อ หรือแพร่กระจายจากบริเวณใกล้เคียง
การวินิจฉัย
มีไข้ มีอาการอักเสบ ปวดบวมแดง ภายใน 2 - 3 วันแรกของการติดเชื้อข้อ
ผล Lab เจาะดูดน้ำในข้อ ย้อม gram stain ผล CBC พบ ESR, CRP สูงขึ้นเล็กน้อย
การตรวจทางรังสี
Plain Film อาจพบช่องว่างระหว่างข้อกว้าง
Ultrasound บอกภาวะมีน้ำในข้อมาก หรือข้อเลื่อนหลุด
MRI ช่วยบอกการติดเชื้อในกระดูก
การรักษา
การให้ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด Arthrotomy and drainage เพื่อระบายหนองหยุดยั้งการทำลายข้อ และเพื่อได้หนองและชิ้นเนื้อในการส่งตรวจ
Terboculous Osteromyelitis and Tuberculous Arthitis
วัณโรคกระดูกและข้อในเด็ก
สาเหตุ
เชื้อ Mycobacterium tuberculosis เข้าปอดโดยการหายใจ จากการไอ จาม ลุกลามเมื่อมีปัจจัยที่เหมาะสม เช่น ภูมิคุ้มกันต่ำลง
อาการและอาการแสดง
เริ่มแสดงอาการหลังติดเชื้อประมาณ 1 - 3 ปี กระดูกจะบางลงหรือแตกออก เกิดเป็นโพรงหนอง เชื้อจะทำลายกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำหนักลด มีไข้ต่ำ ๆ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
CBC อาจพบ WBC ปกติหรือสูงไม่มาก ค่า CRP, ESR สูง ทดสอบ tuberculin test ผล +
การตรวจทางรังสี
Plain film MRI
การรักษา
ให้ยาต้านวัณโรค
การผ่าตัด การตรวจชิ้นเนื้อ การผ่าตัดระบายหนอง การผ่าตัดเพื่อแก้การกดทับเส้นประสาท
Club Foot (เท้าปุก)
ข้อเท้าจิกลง ส้นเท้าบิดเข้าใน ส่วนกลางเท้าและเท้าด้านหน้าบิดงุ้มเข้าใน
สาเหตุ
ยังไม่ทราบแน่ชัด อาจเกิดจาก gene และ ปัจจัยสงเสริม เช่น แม่สูบบุหรี่
การวินิจฉัย
ตรวจดูรูปร่างเท้า ลักษณะเท้าจิกลง บิดเอียงเข้าด้านใน
Positional clubfoot
ขนาดเท้าใกล้เคียงปกติ เขี่ยด้านข้างสามารถกระดกเท้าเหมือนปกติได้
Idiopatic clubfoot
ไม่สามารถหายได้เองต้องได้รับการรักษา
การรักษา
ทำให้เท้ามีขนาดใกล้เคียงเท้าปกติมากที่สุด
สามารถใช้ฝ่าเท้ารับน้ำหนักได้ใกลเคียงปกติ
สามารถเคลื่อนไหวใกล้เคียงปกติ โดยไม่ปวด
การเลือกวิธีรักษาขึ้นอยู่กับอายุ รักษาได้ดีในเด็กที่เริ่มรักษาตอนอายุน้อยกว่า 1 ปี
การดัดและใส่เฝือก
ใส่นาน 2 - 3 เดือน
การผ่าตัด
ในรายที่ไม่สามารถดัดได้จากแรงภายนอก
ฝ่าเท้าแบน (Flat feet)
อาการ
ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของความแบนราบ อาจมีตาปลา รองเท้าสึกเร็ว ปวดฝ่าเท้า แบนมากจะปวดน้อง ปวดสะโพก
สาเหตุ
พันธุกรรม
การเดินผิดปกติ เช่น การเดินบิดเท้าเข้าด้านใน
เอ็นข้อเท้ามีการฉีกขาด
การรักษา
ใส่รองเท้าขนาดพอดี
ไม่รักษาตาปลาด้วยตนเอง
ใส่แผ่นรองเท้า
Cerebral Palsy
สาเหตุ
ก่อนคลอด
ติดเชื้อ มารดาเป็นโรคแทรกซ้อน อุบัติเหตุขณะตั้งครรภ์
ระหว่างและหลังคลอด
คลอดยาก สมองกระทบกระเทือน ขาดออกซิเจน คลอดก่อนกำหนด
การรักษา
การป้องกันการผิดรูปของข้อต่าง ๆ
กายภาพบำบัด
เรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว
อรรถภาพบำบัด
เรียนรู้การสื่อสาร
ลดความเกร็งโดยการใช้ยา
ยากิน กลุ่ม Diazepam
ยาฉีด Botox
การผ่าตัด
เพื่อลดความตึงของกล้ามเนื้อ การย้ายเอ็น การผ่าตัดกระดูก
มะเร็งกระดูก (Osteosarcoma)
อาการและอาการแสดง
ปวดบริเวณก้อนที่มีเนื้องอก น้ำหนักลด มีไข้ การเคลื่อนไหวผิดปกติ
การวินิจฉัย
ซักประวัติ
ระยะเวลา การปวด
การตรวจร่างกาย
น้ำหนัก ตำแหน่ง การเคลื่อนไหวต่อมน้ำเหลือง
การตรวจห้องปฏิบัติการ
MRI เพื่อดูการกระจายของโรค
การรักษา
ตัดก้อนมะเร็งออกทั้งหมดเพื่อลดการกระจายของโรค
Omphalocele
การผิดรูปแต่กำเนิดของผนังหน้าท้อง ทำให้มีบางส่วนขาดหายไป มีผนังปิดหน้าท้องคล้ายถุง คลุมอวัยวะภายใน คือ เยื่อบุช่องท้องรวมตัวกับ Amnion
การรักษา
Conservative
ใช้สารละลายเชื้อ ทาบริเวณถุง มีผลทำให้ผนังแปลสภาพเป็น Escher ที่เหนียว ไม่แตกง่าย ผลสุดท้ายจะคลุมได้สมบูรณ์ กลายเป็น Umbilical hernia ซ่แมแซมเมื่อเด็กโต หรืออาจเจริญดีจนไม่ต้องซ่อม เหมาะกับ Omphalocele ขนาดใหญ่
การผ่าตัด Primary fascial closure
ทำเมื่อ Omphalocele มีขนาดไม่ใหญ่มาก
Gastroschisis การมีผนังหน้าท้องแยกจากกัน
เป็นความผิดปกติแต่กำเนิด เกิดเป็นช่องแคบยาวหลังผนังหน้าท้องสร้างสมบูรณ์ เกิดการแตกทะลุของ hermia of umbilical cord
การวินิจฉัย
พบถุงสีขาวขุนบางที่หน้าท้อง มองเห็นลำไส้ขด หรือตับผ่านผนังถุง อาจมี wharton's jelly สายสะดือติดอยู่กับตัวถุง
แนวทางการพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เช็ดทำความสะอาดลำไส้ส่วนที่สกปรก ป้องกันการติดเชื้อ
ข้อวินิจฉัย
อาจเกิดภาวะ Hyprothemia เนื่องจากทารกส่วนใหญ่่น้ำหนักน้อย หรือ มีลำไส้อยู่นอกช่องท้อง
อาจเกิดการสูญเสียสารเหลวที่ไม่สามารถทราบได้ (insensible loss) จะนำไปสู่ปริมาตรเลือดต่ำ
อาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากมีลำไส้อยู่นอกช่องท้อง
หลังผ่าตัด
ใส่ Endotrachial ให้ muscle relaxant 1 -2 วันหลังผ่าตัด
อยู่ในตู้อบเพื่อปรับอุณหภูมิ
จัดท่านอนหงาย สังเกตการหายใจ การขับถ่าย ตรวจดู discharge ออกมาจากแผล swab culture
ข้อวินิจฉัย
อาจเกิดภาวะการติดเชื้อของแผลหลังผ่าตัด
อาจเกิดภาวะหายใจลำบาก เนื่องจากการใช้แรงกดถุงลำไส้ให้เคลื่อนเข้าช่องท้อง
อาจเกิดภาวะท้องอืดหรืออาเจียน เนื่องจากลำไส้บวม หรือมีการอุดตัน