Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะน้้าคร่้าอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism/AFE) -…
ภาวะน้้าคร่้าอุดกั้นหลอดเลือดในปอด
(Amniotic fluid embolism/AFE)
ความหมาย
ภาวะที่มีน้ำคร่ำผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของมารดาจึงจะเข้าไปในหลอดลมฝอยในปอด แล้วไปอุดกั้นบริเวณหลอดเลือดดำที่
ปอด ทำให้ร่างกายเกิดปฏิกิริยาต่อต้านสารประกอบน้ าคร่ำ โดยปฏิกิริยาต่อต้านทำให้เกิดภาวะล้มเหลวของการทำงานของระบบหายใจ ระบบหัวใจและการไหลเวียนโลหิต ระบบการแข็งตัวของโลหิต ช็อคและเสียชีวิตในที่สุด
เป็นภาวะฉุกเฉินทางการคลอดที่มี
ลักษณะเฉพาะสามประการ คือ
ภาวะความดันโลหิตต่ า (hypotension) อย่างทันทีทันใด
ภาวะขาดออกซิเจน (hypoxia)
ภาวะความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด (consumptive coagulopathy)
การป้องกัน
ขณะเจ็บครรภ์คลอด ไม่ควรเร่งให้มดลูกหดรัดตัวถี่เกินไป
การเจาะถุงน้ำควรทำอย่างระมัดระวัง ไม่ให้ถูกปากมดลูก
การกระตุ้นการเจ็บครรภ์ ในรายที่เด็กตายในครรภ์โดยใช้ Oxytocin drip ควรท าอย่างระมัดระวังดูอาการหดรัดตัวของมดลูกอย่างใกล้ชิด
ไม่ควรกระตุ้นการเจ็บครรภ์โดยวิธีเลาะแยกเยื่อถุงน้ำคร่ำ
ในรายที่มีภาวะรกเกาะต่ำ การตรวจภายในควรจะกระทำอย่างระมัดระวัง
ถ้าผู้คลอดเจ็บครรภ์ถี่มากเกินกำหนด ผู้คลอดพักได้น้อย ควรรายงานแพทย์เวรทราบทุกครั้ง
ปัจจัยส่งเสริม
การเร่งคลอด โดยการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ทารกตายในครรภ์ เป็นเวลานาน ทำให้มีการเปื่อยยุ่ยขาดง่าย อาจเกิดการฉีกขาดของหลอดเลือด ท าให้น้ำคร่ำเข้าสู่กระแสเลือด
การคลอดเฉียบพลัน
รกเกาะต่ำ
รกลอกตัวก่อนกำหนด
มดลูกแตก
การบาดเจ็บในช่องท้อง
การผ่าตัดเอาทารกออกทางหน้าท้อง
มารดามีบุตรหลายคน
มารดาตั้งครรภ์หลังที่มีอายุมากกว่า 35 ปี
น้ าคร่ำมีขี้เทาปน
การเบ่งคลอดขณะถุงน้ าคร่ำยังไม่แตก
การเจาะถุงน้ าครำ่
พยาธิสรีรวิทยา
น้ำคร่ำประกอบด้วย เซลล์ผิวหนังทารก ผมขนอ่อน ไข ขี้เทา
ถุงน้ำคร่ำมีรูรั่วหรือแตกส่วนประกอบของน้ำคร่ำจะผ่านเข้าสู่กระแสเลือดของผู้คลอด
ผ่านเข้าไปในบริเวณที่รกลอกตัว หรือบริเวณ
ปากมดลูกที่ฉีกขาด
แรงดันจากการหดรัดตัวของมดลูก
ส่วนประกอบของน้ำคร่ำจะเข้าสู่ระบบไหลเวียน
เลือดของผู้คลอด ผ่านเข้าสู่หัวใจและปอด
ทำให้เกิดการอุดตันในหลอดเลือดฝอยในปอด
ทำให้หลอดเลือดเกิดการหดเกร็ง
เลือดที่ไหลผ่านปอดมาสู่หัวใจซีกซ้ายลดลงทันทีทันใด
ทำให้เลือดที่จะถูกบีบออกจากหัวใจข้าง
ซ้ายลดลงทันที
เกิดภาวะช็อคจากหัวใจ (cardiogenic shock)
ความดันในหลอดเลือดปอดสูงขึ้น เกิดเลือดคั่ง
ในปอด
ส่งผลให้หัวใจซีกขวาไม่สามารถบีบตัวดันเลือดให้ผ่านปอดได้
จึงเกิดภาวะปอดบวมน้ำตามมา
ปฏิกิริยาต่อต้านทำให้เกิดการไหลเวียนของเลือดในปอดลดลง
ส่งผลต่อการแลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนกับคาร์บอนไดออกไซด์
ทำให้เกิดภาวะขาดออกซิเจนในหลอดเลือดแดง และ
ตามมาด้วยภาวะการแข็งตัวของเลือดเป็นลิ่มเล็กๆแพร่กระจายในหลอดเลือด
ผู้คลอดจะเสียเลือดมากและเสียชีวิตในที่สุดจากภาวะระบบหายใจและระบบหัวใจล้มเหลว
อาการและอาการแสดง
มีอาการหนาวสั่น (chill)
เหงื่อออกมาก
คลื่นไส้ อาเจียน วิตกกังวล
หายใจล าบาก (dyspnea) เกิดภาวะหายใจล้มเหลวทันทีทันใด เขียวตามใบหน้า และลำตัว(cyanosis)
เกิดภาวะน้ำคั่งในปอด (pulmonary edema)
เส้นเลือดที่หัวใจตีบ
ความดันโลหิตต่ำมาก (low blood pressure)
ชัก
หมดสติ (Unconscious) และเสียชีวิตในเวลาต่อมา
การวินิจฉัย
การวินิจฉัยจากอาการและอาการแสดง
ระบบหายใจล้มเหลว (respiratory distress)
อาการเขียว
เส้นเลือดหัวใจหดเกร็ง (cardiovascular collapse)
เลือดออก
ไม่รู้สติ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาเซลล์ผิวหนัง
การชันสูตรศพ
เลือดจากกระแสเลือดไปปอดของมารดา
การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
การตรวจคลื่นไฟฟูาหัวใจ (ECG)
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ท าให้ผู้คลอดเสียชีวิตจากการเสียเลือด
ผู้รอดชีวิตมักมีอาการทางระบบประสาท
เนื่องจากมีภาวะขาดออกซิเจนรุนแรง
ต่อทารก
โอกาสรอดของทารกมีค่อนข้างน้อย
ทารกที่รอดชีวิตจะมีภาวะบกพร่องทางระบบประสาท
การพยาบาล
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาลข้อที่ 1เสี่ยงต่อการเกิดภาวะน้ าคร่ าอุดกั้นหลอดเลือดในปอด เนื่องจากมีปัจจัยที่ก่อให้เกิดภาวะน้ำคร่่ำ
อุดกั้นหลอดเลือดในปอด
กิจกรรมการพยาบาล
เฝ้าระวังในมารดาที่ได้รับยาเร่งคลอดอย่างใกล้ชิด เพื่อประเมินการเปลี่ยนแปลงของลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกถ้ารุนแรงผิดปกติควรรายงานแพทย์
เพื่อเตรียมการช่วยเหลือได้อย่างทันท่วงที
ในมารดาที่ถุงน้ำคร่ำแตก ถ้าลักษณะของน้ าคร่ำมีขี้เทาปน
สังเกตอาการแสดงระยะแรก ได้แก่ อาการหอบเหนื่อย อาการเขียว เพื่อประเมินอย่างรวดเร็ว และสามารถให้การช่วยเหลืออย่างถูกต้องและฉับพลัน
ประเมินเสียงหัวใจของทารกในครรภ์ เพื่อประเมินสภาพทารกในครรภ์