Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะรกค้าง (Retained placenta), images - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะรกค้าง
(Retained placenta)
ภาวะที่รกไม่คลอดภายใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอด
สาเหตุ
การขาดกลไกการลอกตัว
รกปกติ
มีปัสสาวะในกระเพาะปัสสาวะ (full bladder)
มีระยะการคลอดที่ยาวนาน (prolonged labor)
มารดาได้รับยาระงับปวดหรือยาสลบมากเกินไป (over analgesia and
general anesthesia)
รกผิดปกติ
placenta adherens
ขาดเครฟเวท ไลน์ (cleavage line) หรือการย่นยู่ของชั้น spongiosa ที่มี ความเปื่อยยุ่ยฉีกขาดง่าย
รกปกติมีดีซิดัวส์ (deciduas) แทรกอยู่ระหว่างอินเตอร์วิลลัสสเปซ (intervillous) ที่เรียกว่าดีซิดัวส์เซบตัม (deciduas septum)
placenta membranacea
placenta succenturiata หรือ placenta spurium
การขาดกลไกการขับดัน
การหดเกร็งของปากมดลูก (cervical cramp) และคอนสตริกชั่นริง (constriction ring)
มารดาไม่เบ่งผลัก รกที่ลอกตัวแล้ว ให้คลอดออกมาเองตามธรรมชาติของการคลอดรก
สาเหตุส่งเสริม
ทำคลอดรกก่อนรกลอกตัวสมบูรณ์
เคยมีประวัติรกค้าง
ผ่าท้องคลอด ผ่าตัดเอาก้อนเนื้องอกออก จากโพรงมดลูก (myomectomy ) หรือเคยขูดมดลูก
มีผนังกั้นภายในโพรงมดลูก (bicornuate uterus)
ชนิดของรกติด (placenta adherens)
มีการฝังตัวของเซลล์ โทรโฟบลาสท์ (trophoblast) ลึกกว่าปกติ
placenta accreta
trophoblast ฝังตัวลงไปตลอดชั้นสปอนจิโอซา (spongiosa) แต่ไม่ผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
placenta increta
trophoblast ฝังตัวลึกผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ถึงชั้น ซีโรซา (serosa)
placenta percreta
trophoblast ฝังตัวลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึง serosa
อาการและอาการแสดง
ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัว
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอดเป็นจำนวนมาก
บางส่วนของเนื้อรก หรือ membranes ขาดหายไป
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดต่่ำลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการของภาวะช็อค
ผลกระทบต่อมารดา
ตกเลือดหลังคลอด
ติดเชื้อหลังคลอดได้
มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง
ผลกระทบต่อทารก
ทารกได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การรักษา
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก
การล้วงรก (manual removal of the placenta)
ถ้ารกติดแน่น ผู้ทำคลอดสามารถล้วงรกออกมาได้ แต่มีบางส่วนค้างอยู่บนผนังมดลูก
ขูดมดลูกถ้าส่วนที่เหลือค้างมีน้อย หรือครรภ์แรกที่ยังต้องการมีบุตรอีก และต้องให้ยาปฏิชีวนะร่วมด้วย
ตัดมดลูก
การพยาบาล
ซักประวัติเกี่ยวกับสาเหตุส่งเสริมที่ทำให้เกิดภาวะรกค้าง
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ลอกแล้วแต่ค้างอยู่ในช่องคลอด โดยตรวจดูอาการแสดง (signs) ของรกที่ลอกตัวสมบูรณ์
ช่วยเหลือการคลอดรกที่ยังค้างอยู่ในโพรงมดลูก
ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
ผู้ทำคลอดอาจสอดนิ้วมือเข้าไปในช่องคลอด เพื่อตรวจดูสภาพของปากมดลูกว่ามีการหดเกร็งของปากมดลูก (cervical cramp)
ทำคลอดรกโดยวิธีดึงสายสะดือ (control cord traction)
รายงานแพทย์ เพื่อพิจารณาช่วยคลอดรกโดยการล้วงรก