Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การตรวจประเมินสภาพจิต (Mental Status Examination : MSE) - Coggle Diagram
การตรวจประเมินสภาพจิต (Mental Status Examination : MSE)
ลักษณะทั่วไปและพฤติกรรมที่แสดง
ออก
ลักษณะทั่วไป
ความเหมาะสมการแต่งกายกับสภาพอากาศ หรือสถานที่ ความสะอาดและลักษณะของเสื้อผ้า
สังเกตการสบหรือหลบ
สายตา
สีหน้าท่าทาง โดยเฉพาะอาการที่แสดงถึงความเครียด เช่น เหงื่อออกตามมือ หน้าผาก
การทรงตัว ทรงตัวได้ดีหรือเซ
พฤติกรรมที่แสดงออกและการเคลื่อนไหว
ด้านคุณภาพ เช่น เคลื่อนไหวโดยไร้ความสามารถ
ด้านปริมาณ เช่น มาก น้อย ช้า เร็ว
บันทึกอารมณ์ขณะสัมภาษณ์ด้วย
ทัศนคติ
เป็นการประเมินความรู้สึกของผู้บริการ โดยใช้คำอธิบาย เช่น การให้ความร่วมมือดี เป็นมิตร ไม่เป็นมิตร ให้ความสนใจ ไว้วางใจ หรือเปิดเผย
อารมณ์และความรู้สึก
อารมณ์ เช่น "เบื่อ" "เศร้า" เวลาบันทึกอารมณ์ให้ใส่"..."ด้วย
ความรู้สึก เช่น ร้องไห้
ควรประเมินขอบเขต ความเหมาะสม และความมั่นคง
การพูดและกระแสคำ พูด
อัตราการพูด ปกติ เน็ว หรือช้า
จังหวะ พูดราบรื่นดีหรือติดขัด
ความดัง
ความผิดปกติของคำพูด อาจเป็นความพูดที่ไม่มีความหมาย พูดเสียงเดียว ขึ้นๆลงๆ
กระแสคำพูด คือเป็นคำพูดที่ไม่ปะติดปะต่อ
ไม่คำใจความหมายคำพูด พูดตามที่ตนต้องการไม่ได้ แม้จะเข้าใจคำพูดผู้อื่นก็ตาม
การอ่านและการเขียน ให้อ่านบทความสั้นๆ เขียนข้อความสักหนึ่งประโยค
ความคิด
รูปแบบความคิด ประเมินจากลักษณะการพูด
Circumstantial พูดวกวน
Clanging พูดเป็นกลอนสัมผัส
Echolalia Perseveration พูดซ้ำไปซ้ำมา
Flight of Idea พูดฟังออกเป็นเรื่องราว แต่เปลี่ยนเรื่องราวที่พุดเร็วมาก
Loosening of Association พูดเป็นประโยคแต่ไม่มีความเชื่อมโยงกัน
Incoherence พูดแต่ละคำไม่ต่อเนื่องและสัมพันธ์กัน
Tangential พูดนอกเรื่อง
เนื้อหาความคิด
คิดฆ่าตัวตายหรือคิดฆ่าผู้อื่น
การหลงผิด, อาการประสาทหลอน
ความคิดที่ไม่ใช่อาการทางจิต เช่น หมกมุ่น ย้ำคิด ย้ำทำ
ปริมาณเนื้อหาทางความคิด ซึ่งบ่งบอกความรุนแรงทางจิต
การรับรู้
ประเมินจากการรับรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 คือ ตา หู จมูก ลิ้น กายสัมผัส รวมถึงพฤติกรรมที่แสดงออกด้วย
การรับรู้ที่สามารถพบได้ ได้แก่ ภาพหลอน หูแว่ว กลิ่นหลอน รสหลอน สัมผัสหลอน
การรับรู้เวลา สถานที่ บุคคล
ความจำ
Registration ข้อมูลคงอยู่ในเวลาสั้นๆ
Retention จำได้นานขึ้น โดยทวนซ้ำๆ หรือนำมาเชื่อมกับข้อมูลเดิม
Recall เป็นการนำข้อมูลเดิมมาเชื่อมกับข้อมูลใหม่
แบ่งได้ 3 ประเภท
ความจำในเรื่องปัจจุบัน ถามในช่วง 24 ชม. เช่น อาหารเช้า ใครพามาโรงพยาบาล
ความจำเฉพาะหน้า ให้จำสิ่งของ 3 สิ่ง ผ่านไป 3 นาทีให้กลับมาถาม
ความจำในอดีต เช่น วันเกิด สถานที่เกิด การเรียงลำดับเหตุการณ์ต่างๆ
ความตั้งใจละสมาธิ
ประเมินจากการลบเลข โดยเอา 100 ลบออกครั้งละ 7 เหลือเท่าไหร่ ทำอย่างน้อย 5 ครั้ง โดยให้ทำเอง หากทำไม่ได้ให้เปลี่ยนเป็น 20 ลบ 3
ระดับเชาว์ปัญญาและความคิดเชิงนาม ธรรม
ระดับเชาว์ปัญญา เช่น ชื่อบุคคลสำคัญ สถานที่สำคัญ ซึ่งคำถามต้องเหมาะสมกับระดับการศึกษาของผู้รับบริการ ด้วย
ความคิดเชิงนามธรรม เช่น ถามความหมายจากสุภาษิต คำพังเพย ความเหมือน
การตัดสสินใจ
ประเมินจากสถานการณ์ตางๆ เช่น ถ้าไปดูหนังแล้วไฟไหม้จะทำอย่างไร
การรู้จักตน
ถามผู้รับบริการ เช่น คุณเข้าใจว่าคุณเป็นอะไร
ระดับการเข้าใจตนเอง
ปฏิเสธความเจ็บป่วย
รู้ปัญหา แต่ยังคงปฏิเสธ
รู้ปัญหา แต่โทษคนอื่นว่าเป็นเหตุ
เข้าใจว่ามีปัญหา แต่ไม่รู้คืออะไร
ยอมรับปัญหา แต่ไม่ปรับแก้
ยอมรับปัญหา และปรับเปลี่ยนวิธีคิดหรือพฤกรรม