Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของระบบสืบพันธ์ุ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของระบบสืบพันธ์ุ
ความผิดปกติในระบบสืบพันธ์ุเพศหญิง
ความผิดปกติของฮอร์โมนและประจำเดือน
Premenstrual syndrome (PMS)
อาการต่างๆทั้งร่างกายและจิตของสตรีที่เกิดขึ้นมาเป็นรอบๆในช่วงก่อนมีประจำเดือนและหากประจำเดือนหายไปกลุ่มอาการเหล่านี้ก็จะหายไป
สาเหตุ
ภาวะไม่สมดุลของ estrogen และ progesterone
การเกิดปฏิกิริยาระหว่าง estrogen, progesterone และ aldersterone
prolectin สูง, hypothyroidism หรือ hypoglycemia
ภาวะโภชนาการ
พยาธิสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงสัดส่วนของระดับฮอร์โมน estrogen และ progesterone
ระดับ prolectin และ aldersterone สูงขึ้นในระหว่างช่วง luteal phase ของรอบประจำเดือน
อาการและอาการแสดง
Physical symptoms
Sleep disturbance
Acne, food cravings, constipation
Backache, peripheral edema, joint pain
Emotional symptoms
Irritability, mood change, insomnia
Emotional irritability, loneliness, cry easily
Hostility, depressing, anxiety
Dysmenorrhea
ภาวะปวดประจำเดือนมีสาเหตุมาจากการหลั่งฮอร์โมน prostaglandins มากกว่าปกติ
สาเหตุ
Primary เป็นอาการปวดประจำเดือนที่ไม่เกี่ยวข้องกับพยาธิสภาพของโรค
พบใน คนอ้วน ไม่เคยมีบุตร อายุ < 20 ปี
Secondary เป็นอาการปวดประจำเดือนที่เกิดจากความผิดปกติของมดลูก
พยาธิสรีรวิทยา
การหลั่งฮอร์โมน prostaglandins มากกว่าปกติ กระตุ้นให้กล้ามเนื้อมดลูกหดตัว
อาการแสดง
อาการปวดท้องจะเริ่มพร้อมกับการมีประจำเดือนและปวดนานถึง 12-48 ชม. หรือ 48-72 ชม.
อาการปวกช่องท้องด้านล่างอาจร้าวไปหลังและต้นขา
ปวดศีรษะ ท้องอืด คัดตึงเต้านม ท้องเสีย หงุดหงิด อ่อนเพลีย
Amenorrhea
ภาวะไม่มีประจำเดือน หรือภาวะขาดประจำเดือน
Primary amenorrhea : สตรีที่ไม่เคยมีประจำเดือนเมื่อถึงอายุ 14 ปี โดยไม่มีพัฒนาการลักษณะทางเพศปรากฎ และเมื่ออายุถึง 16 ปียังไม่มีประจำเดือน แต่มีพัฒนาการลักษณะทางเพศปรากฏ
Secondary amenrrohea : สตรีที่เคยมีประจำเดือนมาแล้ว และประจำเดือนขาดหายไป 3-6 เดือน ในสตรีที่มีรอบประจำเดือนปกติ และประจำเดือนขาดหายนานกว่า 12 เดือน ในสตรีที่มีรอบปรจำเดืออนผิดปกติ
สาเหตุ
ไม่มีการตกไข่เนื่องจากมีความผิดปกติของการหลั่งฮอร์โมน estrogen, gonadotropins, lutinizing, FSH
รังไข่ไม่มีการตอบสนองต่อฮอร์โมน gonadotropins
ระดับฮอร์โมน progesterone คงที่ หรือมีความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ
Endometrial adhesions (Asherman syndrome)
Ovarian, adrenal, pituitary tumor
Emotional disorder
ภาวะทุพโภชนาการและการออกกำลังกายอย่างหนัก
Pregnancy
Weight loss
อาการและอาการแสดง
ไม่มีประจำเดือน
Vasomotor flushes
Vaginal atrophy
Hirsutism
Acne
Infertilty
Dysfunctional uterine bleeding
เลือดออกผิดปกติจากโพลงมดลูก
สาเหตุ
Obesity
กลไกการทำงานของ Hypothalamic-pituitary-ovarian ไม่สมบูรณ์
Anovulation
Hormone producing overian tumor
Sexual assault
Trauma
Endometriosis
Polycystic ovarian syndrome
Pelvic inflammatory disease
Coagulopathy
อาการและอาการแสดง
Chronic polymenorrhea ประจําเดือนมาถี่ ประมาณ 18 วันต่อหนึ่งรอบ
Oligomenorrhea ประจําเดือนมาห่าง
Hypermenorrhea ประจําเดือนมามากหรือนาน (Menorrhagia) มากกว่า
8 วัน
Fatigue จากภาวะเลือดจาง
Metrorrhagia มีเลือดออกในช่วงระหว่างรอบประจําเดือน
Oligomenorrhea and infertile จากภาวะไม่มีไข่ตก
การอักเสบและการติดเชื้อ
Leukorrhea
อาการตกขาว / ระดูขาว / ประจําเดือนขาว / มุตตกิต
1) ระดูขาวปกติ คือการตกขาวธรรมชาติ ระยะที่เกิดก่อน-หลังมีประจําเดือนและ ในขณะมีครรภ์ลักษณะตกขาวบริเวณปากช่องคลอดจะขาวใส ไม่มีสี มีฤทธิ์เป็นด่าง ลักษณะตกขาว บริเวณผนังช่องคลอดจะขาวใสเหมือนเหงื่อ
2) ระดูขาวผิดปกติ คือการตกขาวที่เกิดจากการติดเชื้อรา แบคทีเรีย พยาธิหรือไวรัส หรือเชื้อโรคที่ติดจากการมีเพศสัมพันธ์
Vulvovaginal infection
การอักเสบติดเชื้อของช่องคลอดและอวัยวะ สืบพันธุ์ภายนอก
สาเหตุ
Bacterial vaginosis เป็นภาวะที่แบคทีเรียในช่องคลอดเจริญเติบโตมาก ผิดปกติ
Trichomoniasis เป็นภาวะติดเชื้อ Trichomonas vaginalis อุบัติการณ์
Vulvovaginal Candidiasis เป็นการอักเสบติดเชื้อราในช่องคลอด
Atrophic vaginitis เป็นภาวะช่องคลอดอักเสบวัยชรา เกิดจากการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน
Vulvitis คือการอักเสบติดเชื้อของอวัยวะสืบพันธ์ภายนอก
Bartholinitis การอักเสบติดเชื้อของต๋อม Bartholin
Pelvic inflammatory disease (PID)
การอักเสบติดเชื้อของอวัยวะ สืบพันธุ์ภายในอุ้งเชิงกราน ตั้งแต่มดลูก ปากมดลูก และรังไข่ รวมถึงเยื่อบุช่องท้องบริเวณอุ้งเชิงกราน และอวัยวะที่ติดกับอวัยวะสืบพันธุ์ภายใน
สาเหตุ
จากการติดเชื้อ Neisseria gonorrhoeae
จากการติดเชื้อ Chlamydia trachomatis
จากการติดเชื้อ Staphylococci
จากการติดเชื้อ Streptococci
จากการติดเชื้อ diphtheroids
จากการติดเชื้อ Psuedomonas
จากการติดเชื้อ Escherichia coli
ปัจจัยเสี่่ยง
การใส่ห่วงคุมกําเนิด
การแท้งบุตร การผ่าตัดอุ้งเชิงกราน การติดเชื้อขณะตั้งครรภ
Conization or cauterization
อาการแสดง
ระยะแรกจะไม่แสดงอาการ แต่ต่อมาจะเริ่มมีอาการปวดท้องน้อยข้างเดียวหรือ สองข้าง มักปวดหลังมีประจําเดือน ตกขาวมีกลิ่นเป็นหนอง เลือดออกกระปริดกระปรอย
ถ้าเป็นมากขึ้นจะมีอาการ
1) systemic symptom เช่น ไข้ต่ํา ๆ ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร คลื่นไส้ ปวดศีรษะ อาเจียน
2) Heavy, purulent and odorous vaginal discharge
3) Lower abdominal pelvic pain (acute, sharp, severe aching pain both side of abdomen) ปวดหลังมีประจําเดือน และหรือปวดเมื่อมีเพศสัมพันธุ์ อาการปวดจะเพิ่ม มากขึ้นขณะเบ่งถ่ายอุจจาระ หรือขณะปัสสาวะ
4) Chronic PID จะมีประวัติการติดเชื้อ มีอาการแบบเฉียบพลันมาก่อน ปวด ท้องน้อยเป็นระยะ และปวดมากขึ้นขณะมีเพศสัมพันธุ์ ร่วมกับมีอาการตกขาวมาก
เนื้องอกและมะเร็ง
Benign tumors
Vulva cysts
สาเหตุ
Bartholin’s cyst มักเป็นการ อุดตันของต่อมอาจเกิดข้างใดข้างหนึ่งก็ได้
การติดเชื้อเป็นหนอง การติดเชื้อมักเป็น E. coli or Staphylococcus aureus
อาการและอาการแสดง
1) Pain redness
2) Perineal mass
3) Dyspareunia
4) ปวดแสบขณะถ่ายปัสสาวะ
5) มีการอักเสบติดเชื้อหรือเกิดหนอง
Vulva dystrophy
พบในสตรีสูงอายุ หรือวัยหมดประจําเดือน หรือสตรีที่ถูกตัดรังไข่ออกทั้งสองข้าง ซึ่งพบว่าเกิดจากการขาดฮอร์โมนเอสโตรเจน ทําให้น้ําหล่อลื่นในช่องคลอดลดลง
อาการและอาการแสดง
1) แสบคัน ปวดแสบปวดร้อนบริเวณช่องคลอด
2) มีตกขาวจาง ๆ บางครั้งคล้ายหนอง
3) มีการอักเสบเป็นจุดแดง ๆ เนื่องจากมีจุดเลือดออกใต้เยื่อบุช่องคลอดทั่วไป
4) มีอาการเจ็บปวดขณะร่วมเพศ (Dyspareunia)
Ovarian cyst
ถุงน้ําที่อยู่ที่รังไข่ หรือก้อนเนื้องอกที่รังไข่ชนิดไม่ร้ายแรง
Follicle cyst เป็นถุงน้ําที่รังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อไข่เจริญเต็มที่แต่ไข่ยังไม่ตกเกิดจากการผิดปกติในการดูดซึมกลับของของเหลวในฟองไข่
Corpus luteum cyst เป็นถุงน้ําที่รังไข่ที่เกิดขึ้นเมื่อไข่ตกไปแล้ว
Theca luteum cyst มักเป็นที่รังไข่ทั้ง 2 ข้าง มักมีขนาดเล็ก พบได้ไม่บ่อยนัก ถุงน้ําชนิดนี้สัมพันธ์กับภาวะ การตั้งครรภ์แฝด การตั้งครรภ์ร่วมกับภาวะเบาหวานหรืการใช้ยากระตุ้นไข่ตก
Polycystic Ovarian Syndrome (PCOS) เป็นถุงน้ําเล็ก ๆ จํานวนมากที่รังไข่
Dermoid cyst เนื้องอกชนิดนี้มีทั้งส่วนที่เป็นถุงน้ํา และส่วนที่เป็นไขมัน อาจมีเส้นผม มีผิวหนัง ฟัน กระดูก เข้าไปอยู่ในก้อนเนื้องอก
Cystadenoma cyst ถุงน้ําชนิดนี้อาจตรวจพบโดยบังเอิญหรือมีอาการ ผิดปกติ เช่น ปวดท้อง อืดท้อง อาหารไม่ย่อย เสียดท้อง ตกขาว ปัสสาวะบ่อย
อาการและอาการแสดง
1) ถ้าถุงน้ํามีขนาดใหญ่หรือมีจํานวนมาก จะมีอาการไม่สุขสบายในช่องท้อง แน่นอึดอัดในท้อง
2) ปวดท้องน้อย Dyspareunia หรือเจ็บปวดขณะมีประจําเดือน
3) Abnormal uterine bleeding ประจําเดือนมามาก มากระปริดกระปรอย
หรือไม่มา
4) ถ้ามีการบิดขั้วของถุงน้ําจะมีอาการปวดท้องเฉียบพลันคล้ายอาการที่เป็น appendicitis
5) มีภาวะมีบุตรยาก (infertility) ภาวะอ้วน และร้อยละ 50 จะพบภาวะขนดก มักมีภาวะไข่ไม่ตกร่วมด้วย
6)ผิวเยื่อบุโพรงมดลูกมักจะหนาจากผลของการกระตุ้นโดย unopposed estrogen จึงมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก
Fibroid (Leiomyoma, Myoma)
เนื้องอกกล้ามเนื้อมดลูกเป็น เนื้องอกชนิดไม่ร้ายแรงของกล้ามเนื้อมดลูก เป็นเนื้องอกของอวัยวะในอุ้งเชิงกรานที่พบบ่อยที่สุด
สาเหตุ
การได้รับยากลุ่มส เตียรอยด์ ฮอร์โมน estrogen, progesterone
อาการและอาการแสดง
2) มีเลือดออกผิดปกติทางช่องคลอด
3) อาการกดต่ออวัยวะข้างเคียง เช่น กดกระเพาะปัสสาวะทําให้ปัสสาวะบ่อย หรือถ่ายปัสสาวะไม่ออก
4) อาการปวด มีได้หลายรูปแบบ อาการปวดประจําเดือนเป็นอาการปวดที่พบมากที่สุด
5) มีภาวะมีบุตรยาก (infertility)
6) หายใจลําบาก (dyspnea)
7) ตกขาว
1) คลําก้อนได้บริเวณท้องน้อย ถ้าผู้ป่วยคลําก้อนได้เองมักเป็นก้อนที่มีขนาดใหญ่
8) การตกเลือดในช่องท้อง เป็นภาวะที่พบน้อยมาก
Endometriosis
ภาวะที่เยื่อบุโพรงมดลูก (Endometrial tissue) ไปเจริญอยู่ในตํ่าแหน่งอื่น ที่นอกเหนือไปจากภายในโพรงมดลูกปกติ
สาเหตุ
อาจเกิดจากภาวะเลือดประจําเดือนไหลย้อนกลับ แทรกเข้าไปในเนื้อเยื่อมดลูกเข้าสู่รังไข่และอุ้งเชิงกราน
ประวัติบุคคลในครอบครัว เคยเป็น endometriosis และระบบภูมิคุ้มกันถูกกด
อาการและอาการแสดง
1) Classic symptoms
ปวดประจําเดือนเรื้อรังและมากขึ้นเรื่อยๆ
รอบประจําเดือนผิดปกติมามากและนาน
มีภาวะมีบุตรยาก
2) เจ็บในช่องคลอดลึก ๆ ขณะมีเพศสัมพันธุ์
3) เจ็บบริเวณหัวเหน่าในช่วงที่มีประจําเดือน ร่วมกับมีประวัติอาการเจ็บเวลา ถ่ายปัสสาวะและขณะถ่ายปัสสาวะเป็นเลือด ให้สงสัย endometriosis เจริญผิดที่ไปที่กระเพาะปัสสาวะ
4) ประวัติเจ็บที่ลําไส้ตรงและกลั้นอุจจาระไม่ได้ในช่วงที่มีประจําเดือนเป็น รอบๆ ไปร่วมกับบางครั้งถ่ายอุจจาระเป็นเลือดในช่วงที่มีประจําเดือน ให้สงสัย endometriosis ที่ ผนังลําไส้ใหญ่
Adenomyosis
ภาวะที่มีเนื้อเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญในชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
อาการและอาการแสดง
1) Hypermenorrhea ประจําเดือนมามากและนาน
2) Dysmenorrhea มักจะปวดในขณะมีระดูเท่านั้น
3) Polymenorrhea
4) ปวดถ่วงที่ท้องน้อย
5) ถ่ายปัสสาวะบ่อย
6) มีภาวะมีบุตรยาก
Malignant condition
Cancer of cervix หรือ Cervical cancer (มะเร็งปากมดลูก)
เป็นโรคที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงที่ผิดปกติของเซลล์บริเวณปากมดลูก มีการแบ่งตัวของเซลล์มากจนไม่สามารถควบคุมได้
สาเหตุ
สัมพันธุ์กับการติดเชื้อ HPV (Human papilloma virus) มากที่สุด
อาการและอาการแสดง
1) ระยะก่อนลุกลาม (Preinvasive) มักไม่มีอาการผิดปกติ
2) ระยะลุกลาม (Early invasive cervical cancer)
Abnormal vaginal bleeding ภาวะเลือดออกผิดปกติหรือตกเลือด
Persistent vaginal discharge (การตกขาว) จะมีการตกขาวเป็นมูกใส หรือเป็นน้ํำไหลออกมาทางช่องคลอดเรื้อรัง
3) อาการของมะเร็งระยะสุดท้าย (Advanced disease)
อาการทั่วไป
เบื่ออาหาร
ซีด
น้ำหนักลด
อ่อนเพลียมาก
อาการเจ็บปวด เกิดขึ้นในระยะท้าย ที่มีการแพร่กระจายลุกลามไปยัง
เส้นประสาท บางรายมีอาการปวดอุ้งเชิงกรานหรือปวดท้องน้อยมาก ซึ่งเกิดจากการอักเสบของปากมดลูก
มีปัสสาวะอุจจาระรั่วออกทางช่องคลอด
อาการที่เกิดจากการแพร่กระจายของมะเร็งไปยังอวัยวะต่างๆ
แพร่กระจายไปยังกระเพาะปัสสาวะ ทําให้เกิดปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะเป็นเลือด
แพร่กระจายไปยังลําไส้ใหญ่ช่วงปลาย ทําให้เกิดอุจจาระปนเลือด
ถ่ายอุจจาระไม่ออก
แพร่กระจายไปอุดกั้นบริเวณหลอดไต ทําให้เกิดภาวะ Hydronephrosis เกิดการติดเชื้อและไตวาย
แพร่กระจายไปยังต่อมน้ําเหลือง ทําให้เกิดการอุดกั้นบริเวณต่อมน้ำเหลืองต่าง ๆ เช่น ขาหนีบ ทําให้ขาบวม
แพร่กระจายไปยังตับ ทําให้เกิดอาการตัวเหลือง ตาเหลือง
แพร่กระจายไปยังปอด ทําให้เกิดอาการไอ เหนื่อยหอบ ไอเป็นเลือด
แพร่กระจายไปยังกระดูก ทําให้เกิดอาการเจ็บปวดทุกข์ทรมานมาก
Cancer of the uterus, Endometrial carcinoma, uterine cancer (มะเร็งตัวมดลูกหรือมะเร็งเยื่อบุโพรงมดลูก)
ปัจจัยเสี่ยง
Anovulation, abnormal uterine bleeding
ประวัติการมีประจําเดือนไม่สม่ํ่าเสมอ หรือบุคคลในครอบครัวเคยเป็น
มะเร็งมดลูก
Polycystic ovarian syndrome
ปัจจัยเกี่ยวกับเอสโตรเจน ในรายได้รับการกระตุ้นด้วยเอสโตรเจนเป็น เวลานาน
Obesity, hypertension, diabetes
อาการและอาการแสดง
Uterine enlargement
ตกเลือดหรือมีเลือดออกผิดปกติ จะมีอาการเลือดออกภายหลังหมดประจําเดือน โดยไม่มีอาการปวดประจําเดือน
Vaginal discharge อาจพบว่ามีน้ําใส ๆ สีเหลืองหรือสีน้ําตาลไหลออกทางช่องคลอด
Cancer of the ovary (มะเร็งรังไข่)
ปัจจัยเสี่ยง
เป็นหมันหรือมีบุตรยาก มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งรังไข่
ถ้าเป็นมะเร็งเต้านมจะมีความเสี่ยงสูงต่อการเป็นมะเร็งรังไข่
การทํางานของรังไข่ผิดปกติ ประจําเดือนมาไม่สม่ํ่าเสมอ
การสัมผัสมลภาวะ เช่น asbestos, talc
อาหารไขมันสูง
การรับประทานยาคุมกําเนิด หรือการได้รับการรักษาด้วยฮอร์โมนบําบัด
อาการและอาการแสดง
. Early stage
ไม่สุขสบายในช่องท้อง อึดอัดแน่นท้อง ท้องอืด ปวดหลัง
คลื่นไส้ อาเจียน มีลมในช่องท้อง
ปัสสาวะบ่อย ปวดท้องน้อย
ท้องผูก
มีเลือดออกช่องคลอด
น้ำหนักลด
Late stage
ถ้าก้อนมะเร็งแตก มีการบิด หรืออักเสบ จะมีอาการปวด
Granulosa cell tumor จะทำให้ฮอร์โมนเอศโทรเจนเพิ่ม ทำให้มีเลือดออกระหว่างรอบประจำเดือน
Advanced ovarian cancer
Ascites
Postmenopausal bleeding and pain
อาการแพร่กระจายของมะเร็งไปอวัยวะอื่น ที่พบบ่อยคือ น้ำท่วมปอด
Carcinoma of Vulva (มะเร็งอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก)
มะเร็งที่เกิดขึ้นบริเวณปากช่องคลอด
ปัจจัยเสี่ยง
อายุ พบมากในสตรีวัยหมดประจําเดือนและในกลุ่มที่มีประจําเดือนเร็ว
หรือไม่มีบุตร
Leukoplakia (white epithelial hyperplasia) บริเวณ vulva
Chronic vulvar granulomatous disease
มีการระคายเคือง คันเรื้อรัง บริเวณปากช่องคลอด
Pigment moles จากการเสียดสีของผ้าที่สวมใส่และผ้าอนามัย
มีประวัติการติดเชื้อ human papilloma virus มีการติดเชื้อเรื้อรังบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
พบในสตรีกลุ่ม Poor hygiene, Low economic
Obesity, hypertension, diabetes
อาการและอาการแสดง
อาการคัน เลือดออกบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
คลําพบก้อนหรือมีแผลบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
อาจคลําพบต่อมน้ําเหลืองที่ขาหนีบโตร่วมด้วยในรายที่มีการแพร่กระจาย
ของมะเร็ง
Breast cancer (โรคมะเร็งเต้านม)
สาเหตุ
อาหารจําพวกไขมันสูง
คนอ้วน
ปัจจัยเสี่ยง
ประวัติคนในครอบครัวหรือญาติที่ใกล้ชิดเป็นมะเร็งเต้านม อัตราเสี่ยงใน
การเป็นจะสูงขึ้น
Positive test for genetic mutation (BRCA 1 and BRCA2)
การได้รับหรือสัมผัสรังสีจะเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมมาก
ฮอร์โมน การได้รับฮอร์โมนเพศหญิงในสตรีวัยหมดประจําเดือนและการ
รับประทานยาคุมกําเนิดเป็นระยะเวลานานจะมีอุบัติการณ์ต่อการเกิดมะเร็งเต้านมสูง
ไม่เคยมีบุตร หรือมีบุตรหลังอายุ 30 ปี
ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์เป็นระยะเวลานาน ๆ
มีประวัติประจําเดือนมาครั้งแรกก่อนอายุ 12 ปี ประจําเดือนหมดหลังอายุ 55 ปี (early menarche, late menopause)
ความเครียด
อาการและอาการแสดง
มีก้อนไม่เจ็บ แข็ง เป็นอาการนําที่สําคัญมากที่สุด
มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ขนาดและโครงสร้างของเต้านม
อาการบวมเกิดจากก้อนเนื้องอกขัดขวางทางเดินน้ําเหลืองในเต้านม ทําให้ เกิดอาการคั่งของน้ําเหลืองในชั้นผิวหนัง
ผิวหนังอุ่นหรือร้อน แดง
มีอาการดึงรั้งของผิวหนังหรือหัวนมให้บุ๋มลง
มีของเหลวออกจากหัวนม เป็นเลือดหรือสีน้ําล้างเนื้อ
Pathological bone fracture, hypercalcemia
แขนบวม ต่อมน้ําเหลืองใต้รักแร้บวม
หลอดเลือดที่มาเลี้ยงเต้านมขยายตัวมองเห็นที่ผิวหนัง
การแบ่งระยะ (Staging) ของมะเร็งเต้านม
ระยะที่ 2 ก้อนมะเร็งมีขนาดเล็กกว่า 5 เซนติเมตร มีการแพร่กระจายไปยัง ต่อมน้้ำเหลืองที่รักแร้ แต่ไม่มีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะที่ห่างไกล หรือก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร แต่ไม่มีการแพร่กระจายไปยัง
ต่อมน้ําเหลืองที่รักแร้และอวัยวะที่ห่างไกล
ระยะที่ 3 ก้อนมะเร็งมีขนาดใด ๆ ก็ได้มีการลุกลามมายังผิวหนังหรือ กล้ามเนื้อ Pectoral หรือผนังหน้าอกมีการแพร่กระจายไปยังต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้และกลุ่มของ internal mammary แต่ยังไม่มีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะที่ห่างไกล
ระยะที่ 1 ก้อนมะเร็งเต้านมมีขนาดเล็กกว่า 2 เซนติเมตร ที่ไม่มีการ
แพร่กระจาย
ระยะที่ 4 มะเร็งชนิดใดก็ได้ที่มีการแพร่กระจายไปยังอวัยวะที่ห่างไกล
ความผิดปกติในอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
ส่วนท่อปัสสาวะ: Urethritis, Urethra stricture
Urethritis (การอักเสบของท่อปัสสาวะ)
สาเหตุ
Ascending infection จากการติดเชื้อแบคทีเรีย
Proteus
Enterobacter
Klebsiella
Pseudomonas
E. coli
การติดเชื้อเรื้อรัง
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง
อาการและอาการแสดง
กระเพาะปัสสาวะบีบเกร็ง
ปวดแสบปวดร้อนขณะถ่ายปัสสาวะหรือคันในท่อปัสสาวะ
Urgency, frequency, dysuria
Nocturia
มีมูกหรือหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ
Hematuria, Fever, chill
อาการทั่วไป ได้แก่ malaise, nausea, vomiting, low back pain,
flank pain
ปวดหน่วงบริเวณอวัยวะเพศหรืออัณฑะ
Urethra stricture (การตีบแคบของท่อปัสสาวะเนื่องจากมีแผลเป็น)
สาเหตุ
จากการได้รับบาดเจ็บที่ท่อทางเดินปัสสาวะและขาดการรักษาที่ดีพอ
การอักเสบติดเชื้ออย่างแรง
การใส่สายสวนปัสสาวะนานจนท่อปัสสาวะเกิดเนื้อตาย
การใส่เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีขนาดใหญ่
การเป็นมะเร็งท่อปัสสาวะ
อาจเป็นแต่กําเนิด
อาการและอาการแสดง
เบ่งถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะลําเล็กลง double stream, spraying
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด ปวดเล็กน้อยเวลาถ่ายปัสสาวะ
อาการเฉียบพลันจะมีการคั่งค้างของปัสสาวะจากการปัสสาวะไม่ออก
ส่วนองคชาติ: Phimosis, Balanitis, Penile cancer
Phimosis ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติมีรูเปิดแคบ หรือรัดบริเวณใต้ต่อ ส่วนหัวขององคชาติไม่สามารถรูดขึ้นมาหุ้มปลายองคชาติได้ (paraphimosis)
สาเหตุ
เป็นตั้งแต่กําเนิดหรือเกิดขึ้นภายหลังการอักเสบบวม
ไม่รักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์ให้ดีพอ
มีการสะสมของสารคัดหลั่งจากอวัยวะเพศ
อาการ
อักเสบ บวม ปวดบริเวณหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศ
ไม่สามารถดึงหนังหุ้มปลายอวัยวะเพศขึ้นได้
Balanitis and Posthitis การอักเสบของ glans penis and mucous membrane บริเวณรอบ ๆ องคชาติ
สาเหตุ
กการระคาย เคืองเสียดสีจนเกิดรอยถลอก
มีการติดเชื้อซ้ํา
การไม่รักษาความสะอาดและหนังหุ้มปลาย องคชาติตีบ
อาการ
มีหนองไหลมีกลิ่นเหม็น
มีผื่นแดงบริเวณปลายองคชาติ
Penile cancer or Cancer of the penis (มะเร็งองคชาติ)
สาเหตุ
การหมักหมมของสิ่งสกปรกบริเวณใต้หนังหุ้มปลาย
ปัจจัยเสี่ยง
มีประวัติเคยติดเชื้อ HPV
การสูบบุหรี่
Priapism (ภาวะอวัยวะเพศชายไม่อ่อนตัว)
สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยง
เป็นผลจากยาบางชนิด
Psychotropic drug
Alcohol
Papaverine
Marijuana
การใช้ยาฉีดเข้าอวัยวะเพศชายเกินขนาด
เกิดจากโรคเลือดบางชนิด
Leukemia
Metastatic cancer
Sickle cell disease
Spinal trauma
Peyronie’ disease ภาวะที่มี fibrous plaques มาเกาะที่ปลายหนังหุ้ม องคชาติ
จะมองไม่เห็นถ้าองคชาติยัง่อนตัวอยู่
จะทําให้เกิดความเจ็บปวดตอนองคชาติแข็งตัว
มีผลกระทบต่อการมีเพศสัมพันธุ์ทําให้ล้มเหลว
ส่วนอัณฑะ: Orchitis, Testicular torsion
Orchitis, Epididymitis (อัณฑะและท่อนําอสุจิอักเสบ)
สาเหตุ
การติดเชื้อจากต่อมลูกหมาก กระเพาะปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะย้อนเข้า ไปในท่อนําอสุจิจนถึงอัณฑะ
มักเกิดจากเชื้อ E.coli
อาการแสดง
อาการค่อยเป็นค่อยไป ต่อมาอัณฑะบวม ปวด กดเจ็บมาก มีไข้สูง หนาวสั่น หากทิ้งไว้จะเกิดปัสสาวะเป็นหนอง
หากเกิดหลังเป็นคางทูม 3-4 วัน จะมีอาการไข้ ปวดและบวมบริเวณอัณฑะ ไม่พบอาการปัสสาวะเป็นเลือด อาการอาจมีในระยะ 7–10 วัน อาการที่หลงเหลือจากการหายแล้ว อาจมีการฝ่อของอัณฑะ การสร้างอสุจิลดลง ถ้าเป็นที่อัณฑะทั้งสองข้างอาจเป็นหมันได้
ปวดถุงอัณฑะและขาหนีบข้างเดียวตามตําแหน่งของ Vas deferens จะปวดมากขึ้นเวลาเดิน
Testicular torsion (การบิดของท่ออสุจิ)
สาเหตุ
การยึดติดกันของ spermatic fascia และผนังถุงลูกอัณฑะไม่ดีทําให้มีช่องว่าง และท่ออสุจิบิดตัวได้
การออกกําลังกายอย่างหนักทําให้ cremaster muscle เกิดแรงดึงรั้งมากจนท่ออสุจิบิดตัว
ความผิดปกติของถุงหุ้มลูกอัณฑะและตําแหน่งถุงอัณฑะ
อาการและอาการแสดง
ไม่มี cremasteric reflex ของอัณฑะข้างที่บาดเจ็บ
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
อัณฑะบวม ช้ำ
Lightheadedness (วิงเวียนศีรษะ)
ปวดร้าวลงอัณฑะข้างที่บาดเจ็บหรือขาหนีบข้างนั้น
ส่วนต่อมลูกหมาก: Benign prostate hypertrophy (BPH), Prostatitis, Prostate cancer
Benign prostate hypertrophy (BPH) (ภาวะต่อมลูกหมากโต
โดยไม่ใช่มะเร็ง)
สาเหตุ
อายุที่เพิ่มมากขึ้นทําให้มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
Arteriosclerosis
การอักเสบ
การเผาผลาญและภาวะโภชนาการเปลี่ยนแปลง
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก
ปัสสาวะลําบาก ลําปัสสาวะเล็กลง
รู้สึกว่าถ่ายปัสสาวะไม่หมด ปัสสาวะสะดุด
ระยะอุดกั้น
ปัสสาวะค้าง ปัสสาวะเป็นหยด กลั้นปัสสาวะไม่อยู
อาจมีปัสสาวะเป็นเลือด
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะตอนกลางคืน
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
Prostatitis หมายถึง ภาวะต่อมลูกหมากอักเสบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
สาเหตุ
การติดเชื้อแบคทีเรีย Fungi, mycoplasma
สาเหตุอื่นๆ
ต่อมลูกหมากโต
ท่อปัสสาวะตีบแคบ
เชื้อE. coli
อาการแสดง
ปวดบริเวณฝีเย็บ ปวดแสบเวลาปัสสาวะบ่อย
ปวดขณะหรือภายหลังการหลั่งน้ำอสุจิ
ปัสสาวะบ่อย
ต่อมลูกหมากอักเสบเฉียบพลัน
จะมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดบริเวณฝีเย็บ ทวารหนัก และหลัง ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ ถ่ายปัสสาวะบ่อย และถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
ต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง
มีอาการปวดเวลาถ่ายปัสสาวะเล็กน้อย ถ่ายปัสสาวะบ่อย และมี Discharge ไหลออกจากท่อปัสสาวะ มักทําให้เกิดภาวะอักเสบติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
Epididymitis (ท่อนําอสุจิอักเสบ)
Bacteremia (การอักเสบติดเชื้อในกระแสเลือด)
ต่อมลูกหมากบวมโต ปัสสาวะคั่งค้าง
Pyelonephritis (กรวยไตอักเสบ)
Prostate cancer (มะเร็งต่อมลูกหมาก)
ปัจจัยเสี่ยง
การติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์ุ
การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
กรรมพันธุ์ เชื้อชาติ การสัมผัสมลภาวะ เช่น รังสี สารเบนซิน ไฮโดรคาร์บอน
อาการและอาการแสดง
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ปัสสาวะเป็นเลือด
ถ่ายปัสสาวะลําบาก ปัสสาวะเป็นหยด ปัสสาวะคั่ง
อัณฑะหรือขาบวม
ระยะแรก ไม่มีอาการแต่อาจคลําพบก้อน ระยะต่อมามีอาการ
คลําพบต่อมลูกหมากโต ขอบไม่เรียบ
ส่วนเต้านม: Gynecomastia, Breast cancer
Gynecomastia :ภาวะเต้านมโตผิดปกติในเพศชาย
สาเหตุ
กลไกการทํางานของฮอร์โมนผิดปกติแต่ไม่ทราบกลไกที่แน่ชัด
ปัจจัยส่งเสริม
ลูกอัณฑะอักเสบ
โรคตับ
มะเร็งลูกอัณฑะ
โรคไทรอยด์
การได้รับยาบางชนิด เช่น Opiate, chemotherapeutic agent
การมีระดับฮอร์โมน estrogen สูงกว่าปกติ
อาก่ารและอาการแสดง
เต้านมโตกว่าปกติอาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้
Breast cancer (มะเร็งเต้านม)
ปัจจัยเกี่ยวข้องการเกิด
โรคตับ
การสัมผัสรังสี
ความผิดปกติของยีน (presence of the BRCA2 gene)
การสัมผัสความร้อนนาน ๆ
กรรมพันธุ์