Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 เรื่องแนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย, นางสาว ณัฐธกานต์ …
บทที่ 1 เรื่องแนวคิดและหลักการพยาบาลเด็กปกติและเจ็บป่วย
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก
เกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็กแตกต่างตาม อายุ ระดับขอพัฒนาการ
ด้านสติปัญญา พื้นฐานทางครอบครัว และประสบการณ์
จะพัฒนาเป็นแบบเฉพาะเจาะจงจากขั้นก่อนปฏิบัติการ ไปสู่ขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม และขั้นพัฒนาการด้วยนามธรรม แบ่งดังนี้
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี) มี 2 ประเภท
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย ความเจ็บป่วยเกิดขึ้นภายในร่างกาย
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )มี 2 ประเภท
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทํางานไม่ดี หรือไม่ทํางาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี) มี 2ประเภท
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ปฏิกิริยาของเด็กป่วยที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลเป็นวิกฤติกาลที่เกิดขึ้นเด็ก
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายและสิ่งแวดล้อมย่อมส่งผลกระทบต่อเด็กและครอบครัว
สิ่งที่เป็นอันตรายหรือคุกคามเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความไม่สุขสบายทางด้านร่างกาย
ความเจ็บปวด กลัว อวัยวะถูกตัด
การตาย ทําให้เกิดการแยกจาก
ปฏิกิริยาตอบสนองของเด็กป่วยเมื่อเข้ารับการรักษาใน
โรงพยาบาล มีดังนี้
พฤติกรรมถดถอย(regression)
การปรับตัวที่พบเสมอในเด็กวัยเดินและเด็กก่อนวัยเรียน เด็กจะหยุดการเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ หันกลับมาใช้พฤติกรรมดั้งเดิม
การสูญเสียการควบคุมตัวเอง (loss of control)
เด็กวัยเรียน สามารถช่วยเหลือตัวเองได้โดยอิสระ ประสบผลสําเร็จในการควบคุมหน้าที่ของร่างกาย
วัยรุ่นจะมีความเป็นอิสระ เอาแต่ใจตัวเอง เสาะแสวงหาเอกลักษณ์ของตน
เด็กวัยก่อนเรียน เหตุการณ์ที่ทําให้เด็กสูญเสียการควบคุมตัวเอง
ความวิตกกังวลเนื่องจากการแยกจาก (separation anxiety)
พบมากในเด็กอายุระหว่าง 6 เดือนถึง 3 ปี พฤติกรรมการแยกจาก มี 3 ระยะคือ
ระยะสิ้นหวัง(despair)
ระยะปฏิเสธ(denial)
ระยะประท้วง (protest)
วัยเรียน เด็กวัยนี้จะเผชิญความเครียดได้ดีกว่าเด็กเล็ก
วัยรุ่น พัฒนาการปรับตัวต่อภาวะเครียดได้ดีกว่าเด็กวัยอื่นๆ มีความสามารถในการคิดด้วยนามธรรมได้มาก สื่อสารให้ผู้อื่นทราบถึงความต้องการได้
การบาดเจ็บและความเจ็บปวด
เด็กวัยก่อนเรียน สามารถพัฒนาความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการปฏิบัติที่เจ็บปวด
เด็กจะมีพฤติกรรมการต่อต้านโดย
ใช้เท้าเตะถีบ ร้องเสียงดังลั่น ชกต่อย
และพยายามที่จะวิ่งหนี แม้เพิ่งมองเห็นเครื่องมือ เช่น เข็มฉีดยาสายรัดห้ามเลือด
วิธีการเตรียมเด็กก่อนปฏิบัติการพยาบาลที่จะได้ผลดีที่สุดก็คือ
ต้องบอกเด็กว่าอะไรจะเกิดขึ้น แล้วต้องรีบทําทันที
เด็กวัยเรียนกลัวการบาดเจ็บ กลัวความตาย
วัยรุ่นการบาดเจ็บ ความเจ็บปวด และความพิการนั้น จะเกิดผลกระทบกระเทือนมากน้อย ขึ้นอยู่กับว่าวัยรุ่นได้มองตัวเองในปัจจุบันเป็นอย่างไร
การปรับตัวของวัยรุ่นเมื่ออยู่ในโรงพยาบาลอาจเป็น
ปรับตัวโดยการเข้าหาผู้อื่น
ปรับตัวโดยการต่อสู้และต่อต้าน ไม่ไว้วางใจผู้อื่น
ปรับตัวโดยการถอยหนีจากคนอื่น สร้างโลกของตนเอง อยู่ห่างจากคนอื่น
ครอบครัวของผู้ป่วยเด็ก
บิดามารดาจะเกิดความวิตกกังวล เพราะไม่ทราบเกี่ยวกับความก้าวหน้าของโรค ความวิตกกังวลสูงจะทําให้การรับรู้แคบลง
ปฏิกิริยาโต้ตอบของบิดามารดาต่และความสามารถในการปรับตัวขึ้นอยู่กับปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่
ความรุนแรงของการรักษา
ประสบการณ์เกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการอยู่ในโรงพยาบาล
วิธีปฏิบัติเพื่อการวิเคราะห์โรคและการรักษา
ปัจจัยการช่วยเหลือค้ําจุน
แบบแผนการสื่อสารของสมาชิกในครอบครัว
ความเข็มแข้งของบิดามารดา
ความสามารถในการปรับตัวครั้งก่อนๆ
ความเคร่งเครียดที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากระบบครอบครัว
ความเชื่อถือเกี่ยวกับขนบธรรมเนียมประเพณีและศาสนา
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ถือได้ว่า เป็น “best practice” ในการดูแลเด็กป่วย องค์ประกอบที่สําคัญของการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
การตระหนักและการเคารพ (Respect)
วัฒนธรรม ความเป็นบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ
ความมีอิสระ ทางความคิดและการกระทํา การตัดสินใจ
การร่วมมือ (Collaboration)
ครอบครัวและบุคลากรวิชาชีพมีความเท่าเทียมกันในการ วางแผน และให้การดูแลเด็กป่วย
การมีส่วนร่วมในการตัดสินใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ของเด็ก/ครอบครัว
ยอมรับว่าบุคคลที่มีความสําคัญต่อ ผู้ป่วย ว่าเป็นส่วนหนึ่งของทีมสุขภาพ
ใช้การปฏิสัมพันธ์ในการสร้างความมั่นใจและเพิ่ม ความสามารถของสมาชิกในครอบครัว
การสนับสนุน (Support)
อิทธิพลของการที่เด็กเข้ารับการรักษาอยู่ใน โรงพยาบาล ที่มีต่อพัฒนาการของเด็ก และบทบาทของ บิดามารดา
กระตุ้นและช่วยเหลือให้ครอบครัวเหล่านี้ให้มีการช่วยเหลือซึ่ง กันและกัน และสร้างเครือข่ายระหว่างครอบครัว
แต่ละครอบครัวมีวิธีการเผชิญปัญหาที่เป็น ลักษณะเฉพาะ และช่วยเหลือที่แตกต่างกัน
หลักการดูแลเด็กโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกัน
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ และ สังคม เศรษฐกิจของ ครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และ ตอบสนองความต้องการขอครอบครัว
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จําเป็นแก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่องและไม่ลําเอียง
สนับสนุนเกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับ
1.เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก
การจัดการการพยาบาลเด็กที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
การวางแผนและการดําเนินการ ประกอบไปด้วย
2.2 การอํานวยความสะดวก (facilitative)
2.3 การประสานงาน (coordination)
2.1 การจัดสิ่งแวดล้อม (environment)
สามารถทําได้โดย
หลีกเลี่ยงสัญลักษณ์ที่อาจแสดงให้เห็นถึงจุดรักษาในหอผู้ป่วย
ห้องตรวจรักษาและทําหัตถการ
การสร้างบรรยากาศให้แจ่มใส สดชื่น ด้วยสีสันสะอาดสะอ้าน
2.4 การสื่อสาร (communication)
การสื่อสารกับเด็กมีความแตกต่างตามระยะ
พัฒนาการของเด็ก
เมื่อต้องทําหัตถการทางการพยาบาลควรคํานึงถึงความเหมาะสมตาม
ระยะพัฒนาการ ดังนี้
วัยทารก ให้ข้อมูลกับบิดามารดา
วัยเตาะแตะ ให้ข้อมูลกับบิดามารดาร่วมกับการให้ข้อมูลเด็กผ่านกิจกรรม
วัยก่อนเรียน บางเรื่องต้องให้ข้อมูลผ่านบิดามารดา
วัยเรียน สามารถอธิบายผ่านหนังสือภาพ แผ่นพับ ภาพพลิก ได้เข้าใจโดยไม่
ต้องมีบิดามารดาช่วย
วัยรุ่นสามารถสื่อสารได้หลายรูปแบบ โดยไม่ต้องมีบิดามารดาคอยช่วย
2.5 การให้การพยาบาลตามระยะพัฒนาการของเด็ก
ต้องให้การพยาบาลครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน
การพยาบาลเพื่อความสุขสบายทางกายและความปลอดภัย
(providephysical comfort and safety interventions)
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ (provide
cognitiveinterventions)
การพยาบาลทั่วไป (provide general interventions)
การพยาบาลด้านจิตสังคมและอารมณ์(provide psychosocial and
emotion interventions)
3 การประเมินผล
การประเมินและการวินิจฉัยทางการพยาบาล
โดยในกรณีที่เป็นเด็กโต สามารถใช้เทคนิคการให้เด็กระบายความในใจ
ซึ่งพบรายงานการนําไปใช้ในเด็กอายุ5 ปีขึ้นไปโดย
ประเมินแบบแผนการดําเนินชีวิตและกิจวัตรประจําวันของเด็ก
ประเมินความคิดความรู้สึกเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลของเด็ก โดยใช้คําถามปลายเปิด
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก
ความรู้สึกและปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยรุนแรงของเด็ก
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรง
ของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอํานาจต่อรอง
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกเศร้า
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ปฏิกิริยาโต้ตอบของพี่น้องต่อการเจ็บป่วยของเด็กและการปรับตัว
ปฏิกิริยาโต้ตอบของพี่น้องต่อการเจ็บป่วย
ความโกรธ ความอิจฉาริษยาและ ความรู้สึกผิด
เกิดขึ้นบ่อยในเด็กโตความสามารถในการปรับตัวของพี่น้องขึ้นอยู่กับระดับขั้นของพัฒนาการ
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความตายของเด็กแต่ละช่วงวัย
ความเข้าใจเรื่องการตายของเด็กในแต่ละช่วงอายุ จะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับแต่ละระยะของพัฒนาการ
วัยอนุบาลหรือวัยก่อนเรียน
เข้าใจว่าความตายเกิดขึ้นชั่วคราว (temporary) สามารถกลับฟื้นคืนได้ (reversible)
เกิดความกลัวว่าถ้านอนหลับไปอาจจะตายได้
เด็กวัยนี้บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์
วัยเรียน
เข้าใจว่าความตายเป็นการที่ร่างกายหยุดทํางานอไม่สามารถกลับฟื้นคืนได้อีก (irreversible)
สามารถจินตนาการเรื่องความตาย และเข้าใจว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
วัยแรกเกิดและวัยทารก
ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับความตาย
มีปฏิกิริยาด้วยการตอบสนองของ physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
วัยรุ่น
เป็นภาวะสิ้นสุดของการทํางานของร่างกาย ไม่สามารถกลับฟื้นคืนได้อีก เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ทุกคนต้องเจอ
เป็นวัยที่มีความเป็นตัวของตัวเองมาก
ความเจ็บป่วย และการอยู่ในโรงพยาบาลของเด็ก
การป่วยเข้ารักษาในโรงพยาบาลเป็นเหตุการณ์ที่สําคัญในชีวิตของเด็ก ทําให้มีการเปลี่ยนแปลงทั้ง ร่างกาย จิตใจ อารมณ์และสังคม
ส่งผลกระทบในระยะยาวต่อเด็ก
ด้านจิตใจและอารมณ์ เช่น วิตกกังวลจากการพรากจาก โศกเศร้า เฉื่อยชาและมีอารมณ์หงุดหงิดชช
ด้านสังคมและพฤติกรรม เช่น แยกตัว ไม่อยู่นิ่ง ก้าวร้าว
ด้านร่างกาย เช่น การนอนหลับผิดปกติฝันร้าย การถดถอยของพัฒนาการ
บทบาทของพยาบาลเด็กในการใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทักษะ และทรัพยากรกับครอบครัว โดยพยาบาลต้องคิดว่าบิดามารดามีความเสมอภาคกับ
พยาบาลสร้างกลไกความสัมพันธ์กับบิดามารดาเป็นแบบหุ้นส่วน โดยมีข้อตกลงว่า
ใครจะเป็นคนให้การพยาบาลเด็กด้านใด
เสริมสร้างพลังอํานาจแก่ครอบครัวในการควบคุมชีวิตของครอบครัวและการเปลี่ยนแปลงในทางบวก
เสริมสร้างความสามารถของครอบครัว
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
การประเมินความเจ็บปวดควรถามเกี่ยวกับ
รูปแบบ ระยะเวลาความเจ็บปวด
ลักษณะการเจ็บปวด:
ต่ำแหน่งที่ปวด
ผลกระทบต่อความปวด
ความรุนแรงของความปวด
ปัจจัยที่ทำให้ปวดมากขึ้น ลดลง
บทบาทของพยาบาลกับการประเมินความปวด
ให้ความสนใจโดยเป็นผู้ฟังที่ดี และเชื่อในคำบอกเล่าของผู้ป่วย
ระหว่างการประเมินควรบันทึกพฤติกรรม
สร้างสัมพันธภาพที่ดี ใช้คำพูดสุภาพ เข้าใจง่าย
ถ้าผู้ป่วยตอบไม่ได้ อาจใช้วิธีสัมภาษณ์จากคนดูแลใกล้ชิด
เด็ก ความหมายด้านสุขภาพ
หมายถึงบุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี
ช่วงวัยของเด็ก แบ่งตามระยะพัฒนาการ
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
สิทธิเด็ก (Convention on the Right of the Child)
วันที่ 20 พฤศจิกายน ของทุกปี เป็นวัน สิทธิเด็ก
ประเทศไทยลงนามเข้าเป็นภาคี อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ตั้งแต่ วันที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2535
มีทั้งหมด 4 ด้าน
สิทธิในการมีชีวิต
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง
สิทธิในด้านพัฒนาการ
สิทธิในการมีส่วนร่วม
ระยะของการเจ็บป่วย
ระยะเฉียบพลัน (Acute)
ระยะเรื้อรัง (Chronic)
ระยะวิกฤต (Crisis)
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying)
นางสาว ณัฐธกานต์ ศรีสวัสดิ์ รุ่น36/1 เลขที่ 37 รหัสนักศึกษา 612001038