Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและท…
การประเมินภาวะสุขภาพ การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันปัญหาสุขภาพของมารดาและทารกในระยะตั้งครรภ์ปกติ
พัฒนาการของตัวอ่อน
2.Embryonic stage
ระยะตัวอ่อน 3-8 สัปดาห์ สัปดาห์ที่ 3 จะมีการสร้างเซลล์ส่วนที่ 3 ตือ Mesoderm ตัวอ่อนเริ่มสร้างอวัยวะที่สำคัญเรียกว่า Trilaminar embryo
Mesoderm
ระบบทางเดินปัสสาวะส่วนบน :ไต ท่อไต
ม้าม หัวใจ ระบบไหลเวียนเลือด: เม็ดเลือดและน้ำเหลือง
เนื้อฟัน
ระบบอวัยวะสืบพันธ์ : ต่อมเพศ ท่อต่อมเพศ
ระบบโครงสร้างร่างกาย :เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เอ็นยึดข้อต่อ กระดูก กระดูกอ่อน กล้ามเนื้อและเอ็น
Endoderm
เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ตับ ตับอ่อนและเยื่อบุช่องท้อง
ระบบทางเดินอาหาร ทางเดินหายใจ ทอนซิล ไทรอยด์ ไทมัส และต่อพาราไทรอยด์
ระบบทางเดินปัสสาวะและส่วนล่าง :กระเพาะปัสสาวะ ท่อปัสสาวะ
Endodermal germ layer
ต่อมใต้สมอง ต่อมน้ำนม
ปาก ทวารหนัก ช่องจมูกและไซนัส
ระบบประสาทส่วนกลาง สมอง ไขสันหลัง,ระบบประสาทส่วนปลาย
อวัยวะรับความรู้สึก แก้วตา หูชั้นในและนอก
ผิวหนัง ผม เล็บ สารเคลือบฟัน
จะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของตัวอ่อนเมื่อมีการฝังตัว 3 ลักษณะ
1.การเกิดระบบอวัยวะของร่างกาย
2.การเกิดเยื่อหุ้มตัวอ่อน
3.การเกิดรก
3.Fetal stage
จะเริ่มในสัปดาห์ที่ 9 หลักจากปฏิสนธิในระยะนี้มีการแยกความแตกต่างในหน้าที่ของเนื้อเยื่อในแต่ละระบบ
สัปดาห์ที่ 12 เห็นนิ้วมือนิ้วเท้าชัดเจน
สัปดาห์ที่ 14 อวัยวะเพศปรากฏชัดเจน
สัปดาห์ที่ 20 สามารถฟังเสียงของหัวใจทารกดดยหูฟังได้
สัปดาห์ที่ 24 มีการรับรู้การเคลื่อนไหวและหูทารกจะไวต่อคลื่นเสียง
สัปดาห์ที่ 30 สามารถปิดเปิดเปลือกตาได้
สัปดาห์ที่ 34 อวัยวะต่างๆมีการพัฒนาเกือบสมบูรณ์ ยกเว้นปอด
1.Pre-Embryonic stage
ระยะตัวอ่อนหรือ Zygote เริ่ม 1 วัน - 2 สัปดาห์
ความสำคัญของน้ำคร่ำ
5.ช่วยขยายปากมดลูกเมื่อถุงน้ำคร่ำแตก จะช่วยหล่อลื่น
6.ป้องกันเชื้อโรคจากภายนอกเข้าสู่ทารกโดยตรง
4.ป้องกันการกระทบกระเทือนต่อทารก
3.ปรับอุณหภูมิในมดลูกให้เหมาะสมแก่การอยู่อาศัยของทารก
2.เป็นแหล่งให้อาหารทารก
1.เป็นแหล่งระบายของเสียจากตัวทารก
หน้าที่ของรก
3.ทำหน้าที่ช่วยขับถ่ายของเสียออกจากตัวเด็ก
นำอาหารมาให้ทารกระหว่างตั้งครรภ์
2.การแลกเปลี่ยนสารอาหาร ก๊าซ และของเสีย
5.สร้างฮอร์โมนช่วยให้เยื่อบุโพรงมดลูกพร้อมต่อการฝังตัวของไข่
1.รกทำหน้าที่ในการเกิดเมตาบอลิซึมต่างๆ ได้แก่ การสังเคราะห์ไกลโคเจน
การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของหญิงตั้งครรภ์
1.Reproductive Adaptations
4.Ovaries and fallopian tubes ไม่มีการตกไข่และไม่มีประจำเดือน
5.Breasts ขยายใหญ่ขึ้นและโตขึ้นเรื่อยๆรู้สึกคักเต้านม
3.Uterus มีการเปลี่ยนแปลงทั้งขนาดรูปร่าง น้ำหนัก และความจุ
2.Cervix มูกมากขึ้น สีขาวข้น และมีมูกเหนียวอุดที่ปาดมดลูก
1.Vagine ผนังช่องคลอดหนาใหญ่ขึ้น อ่อนนุ่มและยืดขยายได้มากขึ้น
2.Cardiovascular Adaptations
4.Blood Pressure CO เพิ่มขึ้นและแรงต้านทานของหลอดเลือดลดลง
6.Cardiac Output เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในไตรมาสแรก
3.Blood volumeเม็ดเลือดแดงจะเพิ่มขึ้นช้าๆ
7.Ausculatory changes ปริมาณโลหิตที่ออกจากหัวใจมีการเปลี่ยนแปลง
2.Coagulation Factors ปัจจัยในการแข็งตัวของเลือดเพิ่มขึ้น
8.Cardiac changes จะขยายขึ้นเล็กน้อย อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น
1.White Blood cells WBC เพิ่มขึ้นเล็กน้อย
3.Respiratory Adaptations
4.การระบายอากาศจะเพิ่มขึ้น
5.ปริมาตรอากาสหายใจเข้าออกจะเพิ่มขึ้น
3.หายใจเร็วและแรงขึ้น
2.ทรวงอกขยายออกทางด้านข้างความจุของปอด
1.กระบังลมจะถูกดันขึ้น
4.Endocrine Adaptations
pituitary gland
1.FSH และ LH ลดลงในระหว่างการตั้งครรภ์จึงป้องกันการเจริญของไข่
2.GH มีผลต่อเมตาบอลิซ฿มของโปรตีน คาร์โบไฮเดรตและไขมันจะลดลงในระหว่างตั้งครรภ์
3.HPL เพิ่มขึ้นแต่จะลดลงอย่างต่อเนื่องในระยะหลังคลอด
4.Prolactin เพิ่มขึ้นเรื่อยๆตลอดการตั้งครรภ์เพื่อสร้างน้ำนม
5.Oxytocin กระตุ้นให้เกิดการหลั่งของน้ำนม
Thyroid gland
จะโตขึ้นมีการสร้าง T4 เพิ่มขึ้นแต่มี protein bound iodine เพิ่มขึ้นด้วย
Parathyroid gland
สร้างพาราไทรอยด์ H เพิ่มขึ้นโดยเฉพาะครึ่งหลังของการตั้งครรภ์
Adrenal gland
สร้าง Corticosteroid เพิ่มขึ้นมาก ช่วยให้ทารกได้น้ำตาลกลูโคส
Pancreas
สร้างอินซูลินตามความการเจริญเติบโตของรกและทารกในครรภ์
5.Metabolism adaptation
2.ร่างกายต้องการโปรตีนเพิ่มมากขึ้น
3.ร่างกายต้องการแคลเซียม
1.มีขบวนการเมตาบอลิซึมสารอาหารมากขึ้น
4.ต้องการธาตุเหล็กเพิ่มขึ้น
6.Renal system adaptations
1.Renal ขยายใหญ่ อัตราการกรองผ่านกลูเมอโรลัสเพิ่มขึ้น แต่การดูดซึมลดลง
2.Renal pelvis and Ureter ขยายยาวขึ้นและกว้างออก
3.Urinary bladder ความตึงตัวลดลง ความจุเพิ่มขึ้น ทำให้มีปัสาวะค้าง
7.Musculoskeletal system adatatios
1.ท่าเดินเตาะแตะคล้ายเป็ด
2.มีการดึงรั้งของกล้ามเนื้อบริเวณต้นคอและไหล่ให้คุ้มงอ
3.ข้อต่อกระดูกเชิงกรานยืดออกทำให้ปวดหลังช่วงล่าง
4.ใบหน้าคล้ำ เรียกว่า Choasma or Melasma gravidarum
5.เหงื่อออกมาก ผิวหนังมัน
การเปลีย่นแปลงทางด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
5.ความรู้สึกขัดแยงระหว่างความต้องการของตนเองและผู้อื่น
4.การคิดถึงแต่ตนเอง
3.การเปลี่ยนแปลงทางด้านอารมณ์
6.การเปลี่ยนแปลงด้านภาพลักษณ์
2.ความกลัวและความวิตกกังวล
7.การเปลี่ยนแปลงด้านเพศสัมพันธ์
1.ความรู้สึกลังเลใจ
พัฒนกิจการตั้งครรภ์
3.การยอมรับการเปลี่ยนแปลงในตนเอง
4.การปรับตัวระหว่างสัมพันธภาพกับคู่สมรส
2.การสร้างสัมพันธภาพกับทารกในครรภ์
5.การเตรีมตัวเพื่อการคลอด
1.การยอมรับการตั้งครรภ์
การตั้งครรภ์ปกติ
Second trimester 4-6 เดือน
Third trimester 7-ระยะคลอด
First trimester 1-3 เดือน
Antenatal Care ระยะตั้งครรภ์
3.วินิจฉัยและป้องกันภาวะแทรกซ้อน
4.เตรียมร่างกายและจิตใจของมารดาและบิดา
2.ตรวจวินิจฉัยความผิดปกติทางร่างกายและจิตใจ
5.เตรียมการคลอดและการแสดงบทบาทมารดาหลังคลอด
1.ยืนยันว่ามารดาตั้งครรภ์จริง
การประเมินภาวะสุขภาพของหญิงตั้งครรภ์
3.การตรวจครรภ์
3.แนว ท่า และส่วนนำของทารก
2.จำนวนทารกในครรภ์
4.การคงชีวิตอยู่ของทารกมรครรภ์
1.คาดคะเนอายุครรภ์
Lie
แนวขวาง แกนยาวของลำตัวทารก ขวาง กับแนวยาวของลำตัวมารดา
แนวยาว แกนยาวของลำตัวทารก ขนาน กับแนวยาวของลำตัวมารดา
แนวเฉียง แกนยาวของลำตัวทารกอยู่ เฉียง กับแนวยาวของลำตัวมารดา
Persentation
แนวยาว ใช้ Cephalic presentation
แนวขวางใช้ Shoulder Presentation
Cephalic Presentation
2.Bregma Presentation
3.Brow Presentation
1.Vertex Presentation
4.Face Presentation
Breech Presentation
1.Complete Breech
2.Incomplete Breech
Position ลักษณะของทารกในครรภ์โดยใช้ ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนของทารกบนส่วนนำกับส่วนของเชิงกรานของผู้คลอดทำให้ได้ 4 ส่วน คือ ด้านซ้านหน้า ด้านซ้ายหลัง ด้านขวาหน้า ด้านขวาหลัง
วิธีการตรวจครรภ์
การคลำ HF , Position , Presentation
การฟัง FHS, Umbilical souffle,Uterine souffle
การดู ขนาดท้อง ลักษณะ สีของผิวหนัง รูปร่าง การเคลื่อนไหว
Leopold maneuver
4.Fourth Maneuver ผู้ตรวจต้องเปลี่ยนท่า คือหันหน้าไปด้านปลายเท้าของหญิงตั้งครรภ์
3.Third Maneuver การตรวจใช้มือขวาเพียงมือเดียวจับส่วนของทารกที่บริเวณเหนือหัวเหน่าให้อยู่ในอุ้งมือ
2.Second Maneuver ผู้ตรวจหันหน้าไปด้านศีรษะของหญิงตั้งครรภ์ใช้ฝ่ามือทาบผนังหน้าท้อง ตรวจหาส่วนที่กว้าง
1.First Maneuver ผู้ตรวจหันหน้าไปด้านศีรษะของหญิงตั้งครรภ์ ใช้มือแตะยอดมดลูก อีกข้างหนึ่งคลำหา Xiphoid process
4.การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
2.HIV หลังจากได้ให้คำปรึกษาแล้ว
3.OF ,DCIP อายุครรภ์ไม่เกิน 16 สัปดาห์
1.CBC , VDRL เมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
4.กลุ่มเลือด ABO และหมู่เลือด Rh
2.การตรวจร่างกาย
6.แขนขา
7.การตรวจภายใน
5.การตรวจเต้านม
4.การตรวจร่างกายทุกระบบ
8.การตรวจเต้านมสำหรับสตรีตั้งครรภ์
2.การแก้ไขความผิดปกติของหัวนม
3.คลำดูขนาดของต่อมน้ำนมเพื่อตรวจหาก้อนผิดปกติ
1.การทดสอบโดยการเลียนลักษณะการดูดตามธรรมชาติ
4.ไม่แตกหรือเป็นรอยแตกไม่แบน
3.วัดความดันโลหิต
2.ชั่งน้ำหนัก
1.การวัดส่วนสูง
1.การซักประวัติ
6.ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
1.อุบัติเหตุเกี่ยวกับกระดูกเชิงกราน
2.ประวัติการเจ็บป่วยต่างๆ
7.ประวัติการดิ้นของทารกในครรภ์
1.เป็นการซักถามเกี่ยวกับวันแรกที่มารดารู้สึกถึงการเปลี่ยนแปลง
5.ประวัติการคุมกำเนิด
1.วิธีการคุมกำเนิด
2.ระยะเวลาที่คุมกำเนิด
3.ระยะเวลาที่หยุดคุมกำเนิดครั้งสุดท้ายก่อนการตั้งครรภ์
8.ประวัติความผิดปกติระหว่างตั้งครรภ์
1.เลือดออกทางช่องคลอด
2.ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน
3.ท้องผูก
4.การถ่ายปัสสาวะ
5.ตกขาว
6.ตะคริว
7.เส้นเลือดขอด
4.ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต
1.ประวัติการตั้งครรภ์ในอดีต
2.ประวัติการแท้ง
3.ประวัติการตั้งครรภ์ในปัจจุบัน
1.ประวัติประจำเดือน
2.วันแรกของการมีประจำเดือนครั้งสุดท้าย
3.ประวัติการตั้งครรภ์แฝดในครอบครัว
2.การซักประวัติหญิงตั้งครรภ์
1.ประวัติส่วนตัว
5.ระดับการศึกษา อาชีพ
4.การใช้ยาเสพติด
3.ความเชื่อ
2.เจตคติต่อการตั้งครรภ์
1.อายุ สภาพสมรส เชื้อชาติ น้ำหนัก
การประเมินภาวะจิตสังคม
ไตรมาสสอง มีการเตรียมบทบาทใหม่ของการเป็นมารดา
ไตรมาสสาม จะรู้สึกวิตกกังวลและกลัวเกี่ยวกับการคลอดมากขึ้น
ไตรมาสแรก มีความรู้สึกสองฝักสองฝ่าย
การคาดคะเนอายุครรภ์และกำหนดวันคลอด
Quickening
EDC ครรภ์แรก นับจากวัน Quickening บวกเพิ่ม 20-22 W
GA ให้นับจำนวนวันจาก Quickening จนถึงวันที่ต้องการคำนวณแล้วหารด้วย 7 จากนั้นบวกด้วย GA 18-20 W สำหรับครรภ์แรก
Fundal height
McDonald's rule
GA ความสูงของยอดมดลูก (เซนติเมตร) * 8/7
EDC นับจำนวนวันต่อจากวันที่ตรวจครบ 40 สัปดาห์
การวัดระดับยอดมดลูกด้วยสัดส่วนตาม Williams obstetrics
6 เดือน 1/4 เหนือระดับสะดือ
7 เดือน 2/4 เหนือระดับสะดือ
8 เดือน 3/4 เหนือระดับสะดือ
9 เดือน 4/4 ที่ลิ้นปี่
5 เดือน 3/3 ตรงระดับสะดือ
4 เดือน 2/3 ต่ำกว่าระดับสะดือ
3 เดือน 1/3 ต่ำกว่าระดับสะดือ
10 เดือน 3/4 เหนือระดับสะดือและท้องลดแล้ว
1 day of LMP
EDC นับจาก LMP ย้อนหลังไปสามเดือนแล้วบวกวันที่ของวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้ายด้วย 7 วัน
GA นับจาก LMP จนถึงวันที่ต้องการคำนวณ จะได้อายุครรภ์เป็นจำนวนวันแล้วหารด้วย 7 จะได้อายุครรภ์เป็นจำนวนสัปดาห์
Ultresonogram
GA ใช้ค่าตัวเลขอายุครรภ์ที่ได้จากการเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานของการวัดที่มีการคำนวณจากสัดส่วนทารก
EDC ใช้การนับจำนวนวันต่อจากวันที่ตรวจจนครบ 40 สัปดาห์
การนัดตรวจติดตามการดำเนินการตั้งครรภ์
ครั้งที่ 3 26 สัปดาห์ +- 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 4 32 สัปดาห์ +- 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 2 18 สัปดาห์ +- 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 5 38 สัปดาห์ +- 2 สัปดาห์
ครั้งที่ 1 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์
Diagnosis of Pregnancy
Probable sign
คลำได้ขอบเขตของทารก
Heger 's sign
ท้องโตขึ้น
Ballottement
Urine preg test +
Positive sign
ตรวจพบการเคลื่อนไหวของทารก
ฟังพบ Fetal heart sound
ตรวจพบ u/s
Presumptive signs
เต้านมใหญ่ขึ้น
ปัสสาวะบ่อย
คลื่นไส้อาเจียน
Chadwick's sign
ขาดประจำเดือน