Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กระดูกและกล้ามเนื้อ - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท กระดูกและกล้ามเนื้อ
การประเมินอาการทางระบบประสาทในเด็ก
ประเมินด้านร่างกาย
ประวัติ การคลอดเด็ก เจ็บป่วยหลังคลอด อารมณ์ครอบครัว เลี้ยงดู
การตรวจร่างกาย ลักษณะทั่วไป สัญญาณชีพ ศีรษะ ตา หู ปาก ฟัน
ระบบประสาทและกล้ามเนื้อ
muscle tone ตรวจความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
Babinski's sign ทดสอบโดยใช้วัสดุปลายทู่ เขียนตั้งแต่ส้นเท้าถึงปลายเท้า
Brudzinski's sign นอนหงายใช้มือช้อนหลัง ศีรษะชิดอก ทำการทดสอบในเด็กที่มีการติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ เด็กจะทำไม่ได้
Kernig's sign สอบโดยให้เด้กนอนหงายงอเข่าทั้งสองข้าง ยกต้นขาให้ตั้งฉากกับลำตัวทีละข้างแล้วลองเหยียดขา เด็กที่เป็นเยื่อหุ้มสมองอักเสบทำไม่ได้
5.Tendon reflex ใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น ค่าปกติ 2+ 4+ คือผิดปกติ
6.ประเมินระดับการรู้สติ Glasgow coma scale
อาการสำคัญของระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว 5ระดับ 1.1รู้สึกตัวดี 1.2 ง่วง 1.3 ซึม 1.4 ใกล้หมดสติ 1.5 หมดสติ
ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว ประเมินขั้นแรกว่าผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้ตามคำสั่ง หากกรณีทารกเคลื่อนไหวตามคำสั่งไม่ได้ให้ประเมินกำลังแขนขา
2.อาการทางตา
รูม่านตา มีปฏิกิริยาต่อแสง ปฏิกิริยาช้า ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
การกลอกตา ปกติเส้นประสาทคู่ที่ 3,4,6 ควบคุมประสาทตาหากกลอกตาไม่ได้อาจเป็นอัมภาตที่ตาหรือมีปัญหาที่เส้นประสาท
4.การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ชีพจร การหายใจและความดันโลหิตสูง
การประเมินด้านจิตใจ
การรับรู้ ความคิด เชาว์ปัญญา
ความเครียดและการเผชิญความเครียด
ระบบการช่วยเหลือ สนันสนุน ประเมิน
การพยาบาลระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก
ภาวะชักและโรคลมชัก
อาการชัก (Seizure) การเปลี่ยนแปลงรวดเร็วของคลื่นไฟฟ้าสมอง มีการปล่อยเซลล์ที่ผิดปกติของเซล์สมอง
ลมชัก (Epilepsy) ภาวะที่เกิดจาก seizure ตั้งแต่ 2 episodes ห่างกันไม่น้อยกว่า 24 ชม.
อาการเกร็งและหรือกระตุก (convulsion) อาการแสดงทาง motor ผิดปกติ แสดงด้วยอาการเกร็งกระตุก
status epilepticus ชักต่อเนื่องนานเกิน 30นาที
ชนิดของการชัก
Partial sezure เกิดจากความผิดปกติของคลื่นไฟฟ้า มีสัญญาณเตือน
2.Generalized seizure เกิดจากความผิดปกติคื่นไฟฟ้าสมอง 2 ด้าน
3.Unclassified epileptic sezure อาดการชักที่ไม่สามารถจับกลุ่มได้
ชักจากไข้สูง
อาการ ไข้สูง 39 องศา
ลักษณะการชัก เป็นในเด็ก ระยะในการชักสั้น 1-2 นาที
การชักซ้ำใน 24 ชั่วโมง
การพยาบาล
1.ประเมินและบันทึกการชัก
2.ขณะชักให้ผู้ป่วยตะแคงหน้าเพื่อให้น้ำลายไหลออกจากปาก ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
3.ดูแลเสมหะออกจากปากและจมูก
4.จัดให้นอนราบ ใช้ผ้ารองใต้ศีรษะ
5.observe vital signทุก 4 ชั่วโมง
6.เช็ดตัวลดไข้ด้วยน้ำอุ่น
7.ให้ oxygen ตามแผนการรักษา
8.ป้องกันภาวะแทรกซ้อนจากภาวะชัก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
สาเหตุ 3สาเหตุ
1.bacterial meningitis ชื่อแบคทีเรียพบได้ไม่บ่อยเท่าเยื่อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อไวรัสแต่ภาวะโรครุนแรงมากกว่า อีก 2ชนิด
1.purulent meningitis
tuberculosis meningitis
viral meningitis หรือ aseptic meninritis
eosinophilic meningitis เกิดพยาธิ
การติดเชื้อรา
ปฎิกิริยาที่ไม่ใช่การติดเชื้อ
เนื้องอก
การบาดเจ็บการกระทบกระเทือนทางสมอง
การได้รับสารพิษ จากตะกั่ว ปรอท เป็นต้น
เยื้อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย
มีการติดเชื้อผ่านกระแสโลหิตโดยที่มีแหล่งติดเชื้ออยู่ที่ส่วนอื่นของร่างกาย
การติดเชื้อลุกลามโดยตรง พวกนี้การติดเชื้อกระจายอยู่ subarachnoid space
มีการอักเสบติดเชื้อเรื้อรัง
อักเสบของเส้นโลหิตดำใหญ่
meningocele แตก
ได้รับเชื้อโดยตรงจากการเปื้อนของเชื้อ
อาการและอาการแสดง แบ่งได้ 3 แบบ
การติดเชื้อ มีไข้สูง หนาวสั่น เบื่ออาหาร ในเด็กเล็กๆ
มีการระคายของเยื้อหุ้มสมอง ผู้ป่วยจะปวดศรีษะมาก ปวดบริเวณคอด้วย
อาการของแข็ง
kernig's sign positive
brudzinski's sign positive
อาการแสดงถึงภาวะแแทรกซ้อน เช่ร สมองบวม
การวินิจฉัย
ประวัติของผู้ป่วย โดยบิดามารดาหรือผู้เลี้ยงดู
การตรวจห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศษ
การตรวจเลือด พบปริมาณเม็ดเลือดขาวมีจำนวนสูงขึ้น และมีอีโฮโนฟิลสูง
การตรวจน้ำไขกระดูกสันหลัง
ลักษณะนำไขสันหลังปกติในเด็กโตมีค่าประมาณ 110-150 มม/น้ำ
ลักษณะนำไขสันหลังปกติใสไม่มีสีแต่น้ำไขสันหลังของโรคเยื้อหุ้มสมองอักเสบ มีลักษณะขุ่นคล้ายน้ำซาวข้าว
จำนวนเซลล์ในน้ำไขสันหลังเม็ดเลือดขาวในน้ำไขสันหลังในเด็กปกติไม่ควรเกิน 10 เซลล์/ม
โปรตีนในน้ำไขสันหลัง เด็กปกติจะตรวจพบโปรตีนในน้ำไขกระดูกสันหลังไม่เกิน 40 mg/dl
น้ำตาลในน้ำไขสันหลังควรมีค่า1ส่วน2ของน้ำตาลในเลือด
การย้อมสีไขสันหลัง (gram stain)การนำน้ำไขสันหลังย้อมสีจะพบแบคทีเรีย
การตรวจคอมพิวเตอร์สมอง
รักษา
การรักษาเฉพาะ
การรักษาทั่วไปตามอาการและรักษาแบบประคับประคอง
การรักษาภาสะแทรกซ้อน
สมองพิการ Cerebral Palsy
สาเหตุ
2.สมองขาดออกซิเจน รกพันคอ คลอดท่าก้น
3.เส้นเลือดที่สมองมีความผิดปกติ การขาดออกซิเจนจากการจมน้ำ ติดเชื้อบริเวณสมอง การได้รับสารพิษ
1.ระยะก่อนคลอด เป็นสาเหตุของสมองพิการ เลือดออกระหว่างตั้งครรภ์ขาดสารอาหาร มีภาวะชักหรือปัญญาอ่อน ใช้ยาบางชนิดทำให้สมองพิการ
พยาธิสภาพ
1.spastic diplegia ทารกเกิดครบกำหนด จากพยาธิสภาพที่ pyramidal tract
2.spastic hemiplegia กำหนดที่มีน้ำหนักแรกเกิดปกติ ความผิดปกติของการไหลเวียนของเลือด
spastic quadriplegia สมองพิการที่มีกล้ามเนื้อหดเกร็ง มักพบในทารกเกิด ครบกำหนดและตัวเล็กกว่าอายุครรภ์ บริเวณที่เกิดขาดเลือดไปเลี้ยง
4.dyskinetic/ choreoathetoid/extrapyramidal ภาวะขาดอากาศหายใจระหว่างคลอดอย่างรุนแรง เป็นผลจากการตายของเซลล์ประสาททที่เฉพาะเจาะจง
การพยาบาล
การดูแลตนเองบกพร่อง
กระตุ้นให้เด็กดูแลตนเองตามความสามารถ
ระวังการเกิดภาวะอุดกั้นทางหายใจ
ช่วยเหลือเด็กในการรัปประทานอาหาร
แนะนำเรื่องการฝึกขับถ่ายโดยใช้วิธีที่แตกต่างกันตามความส่มารถของเด็ก
พัฒนาการช้ากว่าวัย
ส่งเสริมพัฒนาการในแต่ละด้านโดยใช้ของเล่น
แนะนำบิดามารดา ญาติ หรือผู้ดูแลเด็กในการดูแลส่งเสริมพัฒนาการเด็ก
ติดตามและประเมินพัฒนาการเป็นระยะๆ
การเคลื่อนไหวบกพร่อง
การเคลื่อนไหว
การกระตุ้นให้เด็กนั่ง คลาน เดิน ตามวัยของเด็ก
จัดหาของเล่นที่จะกระตุ้นให้เด็กเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหว
ช่วยเด็กในการใช้อุปกรณ์
ทำกายภาพบำบัด
ให้ยาคลายกล้ามเนื้อในเด็กที่มีอาการเกร็ง
การพยาบาลเด็กโรคติดเชื้อของสมอง
สาเหตุ
primary viral encephalitis
ไวรัสที่นำโดยแมลง โดยเฉพาะโรคไข้สมองอักเสบเจอี หรือ japanease b virus เป็นสาเหตุของการติดเชื้อไวรัส
ไวรัสเริม ทำให้เกิดโรคไข้สมองอักเสบได้ในทุกวัย
ไวรัสโรคพิษสุนัขบ้า
secondary viral encephalitis สมองอักเสบโดยเป็นผลมาจากปฏิกิริยาที่มีไวรัสเข้าสู่ร่่างกาย
อาการและการแสดงออก
ไข้สูงมากๆ
ซึมลง จนกระทั่งโคม่า ใน24-72ชั่วโมง
ชัก มีการเคลื่อนไหวปกติ
กระสับกระส่าย
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การวินิจฉัยโรค
ประวัติจากผู้เลี้ยงดู
อาการและการแสดงดังที่กล่าวข้างต้น
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวในเลือด
การตรวจน้ำไขสันหลัง
การตรวจลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสมอ mri
การตรวจไฟฟ้าคลื่นสมอง eeg
การตรวจวินิจฉัยแยกสาเหตุของเชื้อ
การตรวจหา je specific lgm antibody
การตรวจหาเชื้อโดยวิธี direct immunofluorescence
ผลการตรวจน้ำไขกระดูกสันหลังพบแอนติบอดีต่อ herpes simplex virus
การรักษา
การให้ยา
ยาระงับชัก
ยาป้องกันและรักษาสมองบวมตั้งแต่ระยะแรกๆ
ยานอนหลับ
ยาacyclovir
ยาลดไข้
ยาปฏิชีวนะ
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้าออก
การให้สารอาหารที่มีแคลลอลี่เพียงพอต่อร่างกาย
ดูแลทางเดินหายใจให้โล่ง
ศรีษะโตผิดปกติ
ส่วนใหญ่มักเกิดจากpapillomaของexternal ventricle
มีการอุดตันของการเดินน้ำไขสันหลังระหว่างจุดที่ผลิตและจุดที่ดูดซึม เกิจากผิดปกติแต่กำเนิด
การดูดซึมของน้ำไขสันหลังจากการอักเสบจาก congenital hypoplasia
ประเมินสภาพ
หัวโตเมื่อเทียบกับลำตัว
เมื่อมีน้ำนมมากเกินไป
มีsun set eyeหรือ setting sun sign กล้ามเนื้อแขนขากว้าง ซึม อาเจียน เบื่อ เบื่ออาหาร
การวินิจฉัย
เปรียบเทียบรอบศรีษะกับขนาดปกติของเด็กแต่ละวัย
ภาพรังสีกะโหลกศรีษะจะเห็นการแยกของ suture
transillumination จะเห็นการแบกของ suture และกระดูกกะโหลกศรีษะบาง
ct scan หรือ ventriculography
ถ้าเป็นชนิด non communicating
แนวทางการรักษา
ถ้าศรีษะไม่โตมากนัก จากการมีเยื่อหุ้มสมองอักเสลบจากแบคทีเรีย
ศรีษะโตมากขึ้นเรื่อยๆ เอาส่วนที่อุดตันออก ทำshunt ให้น้ำไขสันหลัง
การพยาบาลก่อนผ่าตัด
มีโอกาสเกิดภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง
อาจเกิดภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
ความแข็งแรงของผิวหลังผิดปกติไปจากปกติ
ความสัมพันธ์ระหว่างบิดามารดาและเด็กอาจไม่เป็นปกติ
พยาบาลหลังผ่าตัด
อาจเกิดการติดเชื้อ
ภาวะขาดสารน้ำและอาหาร
shunt อาจเกิดการอุดตัน
ให้พัฒนาการล่าช้า
บิดามารดามีความวิตกกังวล
คำแนะนำแก่บิดามารดาเมื่อเด็กshunt
สังเกตอาการความดันในกะโหลก
บริเวณที่มี pump ว่าบวมหรือไม่
จัดท่านอนศรีษะสูงเล็กน้อย
แนะนำเกี่ยวกับเรื่องอาหาร
ส่งเสริมพัฒนาการตามวัย
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง
จัดท่านอนให้ศรีษะสูง
ประเมินสัญญาณชีพและการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาท
เพิ่มอัตราการหายใจให้มากกว่าปกติ
จำกัดน้ำ โดยอาศัยหลักว่าถ้าน้ำภายในเซลล์ลดลงแล้วความดันภายในสมองก็จะลดตามไปด้วย
hypothermian เป็นการทำให้อุณหภูมิร่างกายอยู่ในระหว่าง 32-35เซลเวียส จะช่วยให้สมองมีการเผาผลาญลดลง
ผู้ป่วยได้รับยา acetazolamine(diamox)
ผู้ป่วยที่ทำ ventriculostomy เพื่อระบายน้ำไขสันหลัง
ผู้ป่วยโรคสมองบวมน้้ำ(hydrocephalus)ก่อนผ่าตัดต้องเฝ้าระวังภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง
การพยาบาลเพื่อป้องกันภาวะ co2 คั่ง จะทำให้หลอดเลือดขยายส่งผลให้เกิดภาวะความดันในกะโหลกศรีษะสูง
myelodysplasia
spina bifida occulta พวกนี้ tube ปิดแล้วแต่ mesoderm ที่มาเจริญคั่นไม่ดี คือ lamina และspinous process เป็นความผิดปกติที่ meninges
myelomeningocele เป็นความผิดปกติที่ไขสันหลังผิดปกติและยื่นเข้าไปในถุง
meningocele เป็นความผิดปกติที่ meninges
สาเหตุ
การขาดอาหาร
อายุของมาดาและมารดามากกว่าอายุมากกว่า -ถปี
การรักษา
โอกาสที่ผู้ป่วยเด็กจะเจริญขึ้นมาดำเนินชีวิตที่คุ้มค่า
ลักษณะของ meningocele ต้องพิจารณา
ลักษณะและขนาดของ meningocele
ลักษณะของผิวหนังที่คลุม ถ้าบางมากอาจแตกได้ง่าย
เยื้อหุ้มสมองอักเสบจากเชื้อวัณโรค(tuberculous meningitis)
อาการและอาการแสดง
แบบเฉียบพลัน จะมีไข้ ซึมลง การรับรู้เปลี่ยนแปลง ชักมีอาการระคายเคืองหุ้มสอง
แบบเรื้อรัง
ระยะน้ำ ระยะนี้มีไข้ต่ำ บางรายไขสูงรอย หงุดหงิด โกรธง่าย
ระยะเปลี่ยนแปลง มีความดันกระโหลกสูง มีอาการปวดศรีษะ อาเจียน
ระยะสุดท้าย ป่วยในระยะนี้จะมีอาการค่อนข้างหนัก ไข้สูง ซึมมากขึ้น ไม่รู้สึกตัว ตาค้าง ม่านตาขยายโดยไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
การวินิจฉัย
มีประวัติการป่วยเป็นโรควัณโรคของสมาชิกในครอบครัว ผู้เลี้ยงดู ผู้ใกล้ชิดผู้ป่วยหรือบุคคลที่พักอาศัย
ตรวจทางห้องปฏิบัติการและการตรวจพิเศา
การทดสอบทูเบอร์คูลิน
การเจาะหลัง
การรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะร่วมกับยาวัณโรค อย่างน้อย2ชนิดขึ้นไป
รักษาแบบประคับประคอง
การให้สารน้ำ
การให้นมและอาหารที่ให้พลังงาน
การรักษาภาวะแทรกซ้อน
การใช้ยากันชักในรายที่มีอาการชักเกร็ง
การให้ยาลดอาการบวมของสมอง