Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด ( postpartum hemorrhage),…
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะตกเลือดหลังคลอด
( postpartum hemorrhage)
ความหมายการตกเลือดหลังคลอด
ภาวะที่มีการเสียเลือดหลังคลอด ตั้งแต่ 500 มิลลิลิตรขึ้นไปหรือ มากกว่าร้อยละ 1 ของน้ำหนักตัวภายหลังรกคลอด หรือเมื่อมีการลดลงของความเข้มข้นของเลือด ร้อยละ 10
*ทั้งนี้ ผู้ที่มีรูปร่างเล็กหรือมีภาวะโลหิตจาง แม้สูญเสียเลือดไม่ถึง 500 มิลลิลิตร ก็อาจมีภาวะช็อคได้
ชนิดของการตกเลือดหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดระยะแรก/ระยะปฐมภูมิ (Early or immediate postpartum hemorrhage)
เป็นการตกเลือดที่เกิดขึ้นภายใน24 ชม.หลังคลอด
สาเหต 4TS
การหดรัดตัวของมดลูก (Tone)
สาเหตุ
การติดเชื้อของมดลูก ทำให้มีการอักเสบ บวม >>>มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
คลอดบุตรหลายครั้ง โดยเฉพาะมากกว่า 5 ครั้ง
การคลอดยาก หรือ การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด
Constriction ring>>>มีเลือดออกได้มากและขังอยู่ในมดลูกส่วนบนได้
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจาก ภาวะรกเกาะต่ำ>>>เกิดแผลบริเวณมดลูกส่วนล่าง รกลอกตัวก่อนกำหนด>>>มีเลือดแทรกอยู่ระหว่างกล้ามเนื้อมดลูก>>>มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
การเจ็บครรภ์คลอดที่เนินนาน หรือ การคลอดเร็วเกินไป
มดลูกมีการยืดขยายมากผิดปกติ ได้แก่ ครรภ์แฝด ครรภ์แฝดน้ำทารกตัวโต
การใช้ยาบางชนิด เช่น ฮาโลเทน ซึ่งทำให้มดลูกคลายตัวได้/Oxytocin >>ใช้เร่งคลอดปริมาณมาก>>มดลูกล้าได้
มีรูเปิดของหลอดเลือดบริเวณที่รกลอกตัว>>>เลือดออกจำนวนมาก
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
พบ70% ของผู้ป่วยทั้งหมด
รกหรือเศษรกค้างภายในโพรงมดลูก
(Tissue)
สาเหตุรกค้าง
ความผิดปกติของรก เช่น รกมีขนาดใหญ่ หรือ รกเกาะลึกร่วมกับการทำคลอดรกผิดวิธี
การมีรกน้อย>>>ทำคลอดรกผิดวิธี จะเกิดการตกค้างของรกน้อยได้
การทำคลอดรกผิดวิธี เช่น การดึงสายสะดือ การล้วงรก
การตกเลือดจากรก และเยื่อหุ้มรก
รกค้าง
รกลอกตัวหมดแล้ว แต่ยังค้างในโพรงมดลูก>>เลือดออกมาก
รกลอกตัวบางส่วน จากรกเกาะแน่น/รกเกาะลึก>>>เลือดออกตลอดเวลา หรือรกมีInfraction กว้าง
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
(Trauma)
การตัดฝีเย็บที่ไม่ถูกวิธี/เร็วเกินไป>>>เลือดออกมาก
CPD>>> ทำให้เกิดมดลูกแตกได้
การคลอดเร็วผิดปกติ>>>ช่องคลอดฉีกขาด
มดลูกบางกว่าปกติ จากการผ่านการตั้งครรภ์และการคลอดหลายครั้ง เคยผ่าตัดเนื้องอก มดลูก เคยผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง แผลฉีกขาดที่เกิดที่มดลูก
การทำคลอดและการช่วยคลอดที่ไม่ถูกต้อง การใช้สูติศาสตร์หัตถการช่วยคลอด ในขณะที่ ปากมดลูกเปิดยังไม่หมด
การตกเลือดที่เกิดจากการฉีกขาดและบวมเลือดของปากมดลูก/ช่องคลอด/ฝีเย็บ/รอบท่อปัสสาวะ
เสียเลือดจากการฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยหรือเส้นเลือดดำขอดพอง
4.ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือด
(Thrombin)
ภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติโรคเลือด
ประวัติเป็นโรคตับ HELLP Syndrome
โรคเลือด aplastic anemia,ITP
ได้รับยา anticoagulation
ผลจากการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
ระยะทันที>>>ผู้คลอดจะมีอาการใจสั่น ซีดลง ชีพจรเบาเร็ว ความดันโลหิตต่ำ ช็อค มีการขาดออกซิเจน เกิดภาวะอวัยวะล้มเหลว
ภูมิต้านทานโรคต่ำลง ทำให้มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
ปริมาณน้ำนมของมารดาไม่เพียงพอ
สำหรับเลี้ยงทารก อ่อนเพลีย ซีด สุขภาพทรุดโทรม
หากเลือดมากจนAnterior pituitary ขาดเลือด>>>การทำงานของระบบต่อมไร้ท่อเกิดความบกพร่องขึ้น>>>ปริมาณน้ำนมน้อย เต้านมเหี่ยว ระดูขาดและขนอวัยวะเพศร่วง อ่อนเพลีย ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม>>>Shechan’s Syndromes
มีความผิดปกติในการแข็งตัวของเลือดจากภาวะ ไฟปริโนเจนในเลือดต่ำและอาจตายได
การวินิจฉัยการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
อาการและอาการแสดง
การมีเลือดออก ซึ่งอาจจะเห็นหรือไม่เห็นทางช่องคลอด
หากเกิดจากมดลูกรัดตัวไม่ดี จะคลำได้มดลูกนุ่ม ไม่ตึงตัว >>>เลือดสีคล้ำลิ่มเลือดปน หยุกเมื่อมดลูดหดรัดตัวดี
เกิดเลือดคั่งที่เอ็นยึดมดลูก>>>จะไม่ปรากฏเลือดไหลออกมาให้เห็นภายนอก
การฉีกขาดของหนทางคลอด>>>เลือดสีแดงสด
มดลูกปลิ้น>>>มีเลือดพุ่งออกมาให้เห็นเป็นจำนวนมาก และอาจมีลิ่มเลือดสีแดงคล้ำปน
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอย>>>เลือดพุ่งตามจังหวะชีพจร ไม่หยุดแม้มดลูดแข็งตัว
มีเศษรกค้าง>>>ส่วนใหญ่Primary PPH ถ้าเศษรกมากๆ>>>เกิดSecondary PHH
อาการแสดงของภาวะตกเลือด หน้าซีด ชีพจรเต้นเร็ว ระยะแรกจะหายใจเร็ว ต่อมาจะหายใจช้า ใจสั่น เหงื่อออกมาก อ่อนเพลี ความดันหิตต่ำ หมดสติและถึงแก่ชีวิตได้
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี : ระดับของมดลูกจะสูงโ ระดับสะดือหรือเหนือสะดือ>>>กรณีมดลูกหดรัดตัวดีแต่ยังมีเลือดออก>>เกิดการฉีกขาดมดลูก
ตรวจดูชิ้นส่วนของรกที่อาจค้างอยู
โดยการตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด หรือ การใช้มือ ตรวจภายในโพรงมดลูก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Prothrombin time (PT) , Partail thromboplastic time (PTT) , Clotting time , Platelet count
การป้องกันการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
ระยะคลอด
ระวังการให้ยาแก้ปวดในขนาดที่มากเกินไป
ทำคลอดในระยะที่ 2 และระยะที่ 3 อย่างถูกต้องเหมาะสม
ดูแลไม่ให้เกิดการคลอดยาวนาน
หลีกเลี่ยงการทำสูติศาสตร์หัตถการอย่างยาก
ตรวจรกและช่องทางคลอดอย่างละเอียด
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้กระเพาะปัสสาวะว่าง โดยกระตุ้นให้ถ่ายปัสสาวะภายใน 2 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
ในรายที่ได้รับยากระตุ้นให้เกิดการเจ็บครรภ์ อาจให้ Oxytocin ต่อภายหลักการคลอดอย่าง น้อย 2 ชั่วโมง
กระตุ้นให้บุตรดูดนมมารดาทันทีหลังคลอด เพื่อกระตุ้นให้ฮอร์โมน Oxytocin หลั่งมากขึ้น เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวดี
ระยะก่อนคลอด
การซักประวัติอย่างละเอียดเพื่อหาปัจจัยเสี่ยง
การตรวจร่างกาย ค้นหาภาวะโลหิตจาง >>>ให้ธาตุเหล็ก Keep Hct ,มากกว่าหรือเท่ากับ 33%(Hb >= 11 g/dl) เตรียมการเพื่อดูแลในรายที่มีโรคประจำตัวที่เสี่ยงPPH เช่น สตรีตั้งครรภ์โรคธาลาสซีเมีย ,กลุ่ม Rh D negative หรือ IPD
การรักษาการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
การตกเลือดก่อนรกคลอด
ตรวจรกที่คลอดแล้วอย่างละเอียด
ทำคลอดรกโดยวิธี Cord traction ถ้ารกไม่คลอดให้ล้วงรกภายใต้ยาระงับความรู้สึกหรือยา ระงับความเจ็บปวด หรือ ฉีด Pethidine 50 mg เข้าทางหลอดเลือดดำ
คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
ให้ยา Oxytocin 10 – 20 unit เข้าทางกล้ามเนื้อหรือหลอดเลือดดำเมื่อไหล่หน้าหรือศีรษะ ทารกคลอดแล้ว
ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดดำอีก ถ้าจำเป็น (ยกเว้นรายที่มีภาวะความดันโลหิตสูง)
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ เพื่อวัดปริมาณของปัสสาวะที่ออกมา และลดสิ่งขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
กรณีภายหลังรกคลอดแล้ว ถ้าเลือดยังออกอยู่ให้ปฏิบัติข้อ 2 ต่อไป
เจาะเลือดมารดาเพื่อตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด พร้อมทั้งขอเลือด เตรียมไว้อย่าง น้อย 2 Unit
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ คือ 5% D/W หรือ 5% D/NSS หรือ Ringer lactase solution (RLS) 1,000 ml. ร่วมกับ Oxytocin 10 – 20 unit โดยเร็ว
ตรวจวัดความดันโลหิต ชีพจร การหายใจ
การตกเลือดภายหลังรกคลอด
2.กรณีมีการฉีดขาดของช่องทางคลอด
ใช้เครื่องมือถ่างขยายช่องคลอดให้เห็นภายในช่องคลอด และปากมดลูกได้ชัดเจน
ตรวจหารอยฉีกขาด
เย็บรอยฉีกขาดเหล่านั่นจนเลือดหยุด
1.กรณีมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
3.ให้ 5%D/W หรือ 5% D/NSS หรือ Ringer lactase
solution (RLS) 1,000 ml. ร่วมกับ Oxytocin 10 – 20 unit
ผสมอยู่ (กรณีที่ยังไม่ได้ให้) และขอเลือดเตรียมไว้ 2 – 4 unit
4.ฉีด Methergin 0.2 mg เข้าทางหลอดเลือดำ
2.สวนปัสสาวะออกให้หมด แล้วคาสายสวนไว้
5.วางกระเป๋าน้ำแข็งบริเวณหน้าท้อง
และคลึงให้มดลูกหดรัดตัวตลอดเวลา
1.คลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา
3.กรณีท้าตามข้อ 1 และ 2 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ
ตรวจภายในโพรงล้วงมดลูก ภายใต้การดมยาสลบโดยงดเว้นการฮาโลเทน
ถ้ามีก็พยายามออกให้หมด หรือขูดมดลูก เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวดียิ่งขึ้น
ดูว่ามีก้อนเลือดหรือเศษรกค้างอยู่หรือไม่
ถ้าพบว่ามดลูกมีรอยฉีกขาดหรือทะลุให้รีบผ่าตัดเปิดช่องท้องทันที
4.กรณีท้าตามข้อ 1 ,2 และ 3 แล้วเลือดยังออกเรื่อยๆ
1.ตรวจเลือดหา Venus clotting time, clot retraction time และ clot lysis >>>Venus clotting time เกิน 15 นาที หรือมี clot lysis ภายในเวลา 1 -2 ชั่วโมง แสดงว่าเกิดภาวะไฟบริโนเจนในเลือดต่ำ >>>ให้พลาสมาสด หรือ พลาสมาแช่แข็ง หรือ Cryprecipitate
2.ทำ Bimanual compression บนตัวมดลูกในขณะที่ให้ยาสลบผู้ป่วย>>>สอดกำมือขวาเข้าไปในบริเวณช่องคลอด>>> กดบริเวณ Anterior fornix และใช้มือซ้ายคลึงมดลูกบริเวณหน้าท้องให้แข็งตัว ตลอดเวลา พร้อมกับโกยมดลูกมากดบริเวณกระดูกหัวหน่าวด้านหน้า >>เป็นการยืด Uterine vessels ให้ตีบลง เพื่อลดปริมาณเลือดที่ไหลมายังตัวมดลูก กดและบีบผนังมดลูกให้เข้าหากัน ร่วมกับการคลึงมดลูกให้หดรัดตัวตลอดเวลา ซึ่งใช้เวลาในการทำนานประมาณ 30 นาทีขึ้นไป
กรณีการตกเลือดหลังคลอดทันทีจากการหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี และทำตามขั้นตอน ดังกล่าวแล้วเลือดไม่หยุด ควรพิจารณาฉีด Prostaglandin ที่นิยมใช้มี 2 ชนิด ให้เลือกใช้ชนิดใดชนิดหนึ่ง ได้แก่
1.1 Prostaglandin E2 analogue ได้แก่ Sulprostone (nalador) ในขนาด 0.5 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือฉีดที่ปากมดลูก อาจฉีดซ้ าทุก 10 – 15 นาทีและให้ได้ไม่เกิน 6 ครั้ง
Prostaglandin E2 alpha ในขนาด 0.25 mg ฉีดเข้ากล้ามเนื้อหรือฉีดที่ ปากมดลูก อาจฉีดซ้ าทุก 15 – 90 นาทีและให้ได้ไม่เกิน 8 ครั้ง
5.หากทำตามข้อ 1 ถึง 4 แล้วยังคงมีเลือดออกอยู่เรื่อยๆ
ถ้าอายุมากหรือมีบุตรเพียงพอแล้วให้ ตัดมดลูกออก
กรณีอายุน้อยและยังต้องการมีบุตร ทำInternal iliac hypogastric
ดูแลผู้ป่วยภายหลังเกิดการตกเลือดหลังคลอดอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะในระยะ 24 – 48 ชั่วโมง แรกหลังคลอด
ตรวจหาระดับความเข้มข้นของเลือด และอาจต้องให้เลือดเพิ่มเติมถ้าจำเป็น
3 .คำนวณหา Intake และ Output เพื่อปูองกันการให้สารน้ำมากหรือน้อยเกินไป
ตรวจวัดชีพจร ความดันโลหิต การหายใจ และระดับความรู้สึกตัวของผู้ปุวย
4.ให้ยาปฏิชีวนะประเภทครอบคลุมเชื้อได้กว้างขวาง
5.ให้ยาบำรุงเลือด และอาหารที่มีประโยชน์อย่างเพียงพอ
แนวทางการรักษาตามหลักการ
Active management of the third stage of labour
การทำคลอดรกด้วยวิธี Controlled cord traction
เสี่ยงต่อ>>ชิ้นส่วนรก/เยื่อหุ้มเด็กค้าง/สายสะดือขาด/มดลูดปลิ้น
พรบ.วิชาชีพพยาบาลยังไม่รองรับให้พยาบาลทำ
การทำคลอดรกโดยไม่ต้องรอให้มีอาการแสดงของรกลอกตัว
การนวดมดลูกภายหลังคลอด(Uterine massage)
2.ตรวจสอบการหดรัดตัวของมดลูกทุกๆ15นาที>>>นวดคลึงซ้ำหากรัดตัวไม่ดี โดยเฉพาะใน2hr.แรก>>>หยุดนวดเมื่อมั่นในว่าหดรัดตัวดี
1.นวดบริณยอดมดลูกผ่านหน้าท้องทันทีหลังรกคลอด
หลักไม่มีหลักฐานทางการแพทย์ แต่เวชปฏิบัติยังคงแนะนำให้ทำ
3.ไม่จำเป็นต้องนวดตลอดเวลา >>>ไม่สุขสบาย/เจ็บ
4.หากมดลูกหดรัดตัวดีใน2 hr.แรกย้ายไปwardหลังคลอดได้
1.การให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
(Uterotonic drugs)
ยาที่ดีและปลอดภัย Oxytocin>>>ลดความเสี่ยงprimary PPH ร้อยละ60 >>>แนะนำให้ใช้เป็นอันดับแรก
Oxytocin>>> IV(sloely push) / IM / IV Drip S/E : BP Drop ,ใจเต้นผิดจังหวะ/หยุดเต้น หากฉีกรวดเร็ว, Water intoxication
Cytotec >>>800mcg SL / 800-1000 mcg.Rectal
S/E : ไข้หนาวสั่น ระคายเคืองGI ใช้ได้ใน Pt.หอบหืด ระวังใน Pt.heart
Methergin 0.2 mg. >>> IM / IV(Slowly push)
ห้ามใน: Pt.heart ,ไมเกรน,HT,PIH
4.Nalador>>>Max:500 mcg/hrและ<1,500mcg/day ติดต่อกัน<10hr. S/E: ห้าม Pt.หอบ HT Heart Renal ตับ thyrotoxication/มีประวัติ สูบบุหรี่ภายใน 2ปีที่ผ่านมา
การตกเลือดในระยะหลัง/ระยะทุติยภูมิ (Late or Delay postpartum hermorrhage)
สาเหตุ :
มีก้อนเลือด หรือเศษรกค้างอยู่ภายในโพรงมดลูก
ภาวะติดเชื้อภายในโพรงมดลูก ผู้ปุวยมักมีอาการของการติดเชื้อ เช่น มีไข้ น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ปวดท้องน้อย มดลูกเข้าอู่ไม่ดี
เลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด>>>เลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด
ภาวะมีเศษรกค้างร่วมกับการติดเชื้อภายในโพรง
มดลูก
เลือดออกจากแผลของมดลูกภายหลังผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องและมะเร็งไข่ปลาอุก>>>พบได้น้อย มักเกิดภายหลังคลอด 4 สัปดาห์
การวินิจฉัยการตกเลือดระยะหลัง
มีเลือดออกทางช่องคลอดมักเกิดอาการภายใน 3 สัปดาห์หลังคลอด
ส่วนใหญ่พบระหว่างวันที่ 7 – 14 หลังคลอด
อาการอื่นๆ คล้ายกับการตกเลือดหลังคลอดระยะแรก
ผลของการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
ภูมิต้านทานโรคต่ำ ติดเชื้อได้ง่าย
เกิด Necrosis ของต่อมใต้สมองส่วนหน้า (Sheehan’ s syndrome)
ภาวะซีด อ่อนเพลีย สุขภาพทรุดโทรม
การรักษาการตกเลือดหลังคลอดระยะหลัง
มีการติดเชื้อภายในโพรงมดลูก>>>ให้ยาช่วยการหดรัดตัวของมดลูก เพื่อช่วยให้มดลูกหดรัดตัวดี ร่วมกับให้ยาปฏิชีวนะ
่มีเลือดออกจากแผลภายในช่องคลอด >>>ให้ทำความสะอาดและเย็บแผลให้เลือดหยุด ถ้าเนื้อ เยื้อบริเวณแผลยุ่ยมาก เย็บแล้วเลือดไม่หยุด อาจต้องกดไว้หรือใช้ผ้าก๊อซอัดไว้ในช่องคลอดร่วมกับการใช้ยาปฏิชีวนะ
เศษรกค้าง หรือมีก้อนเลือดค้างอยู่ในโพรงมดลูก>>>ให้Oxytocin แล้วทำการขูดมดลูกด้วย ความระมัดระวัง>>>ผนังมดลูกมีลักษณะนุ่ม และทะลุได้ง่าย
กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะตกเลือด
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประวัติส่วนตัว >>> ภาวะโลหิตจาง การแข็งตัวของเลือดผิดปกติ
ประวัติทางสูติศาสตร์ >>>การคลอดเร็ว คลอดยาวนาน ได้รับยาที่มีผลต่อการหดรัดตัวของมดลูก การทำสูติศาสตร์หัตถการ ประวัติเคยตกเลือดหลังคลอด มดลูกแตกหรือการผ่าตัดมดลูก การทำคลอดรกขณะที่รกยังไม่ลอกตัว
ประวัติความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์>>>ภาวะครรภ์เป็นพิษ Aminionitis และทารกตายในครรภ์ ภาวะรกเกาะต่ำ ภาวะครรภ์แฝดน้ำ หรือการตั้งครรภ์แฝด
การตรวจร่างกาย ตามระบบต่างๆ
ความรุนแรงของการเสียเลือด การมีเลือดออกทางช่องคลอด ปริมาณเลือด ลักษณะ สี กลิ่น
ความสามารถในการเข้าอู่ของมดลูก ประเมินจากระดับยอดมดลูก
ซีด ตัวเย็น ชีพจรเบาเร็ว อ่อนเพลีย ความดันโลหิตต่ำ กระสับกระส่าย
อาการติดเชื้อ เช่น มีไข้ น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น ปวดท้องน้อย
มีเลือดสดออกทางช่องคลอด
การตรวจทางช่องคลอด พบเศษเยื้อหุ้มรกที่ปากมดลูก
การมีรกหรือเศษเยื่อหุ้มรกค้างในโพรงมดลูก
การบวมเลือดของอวัยวะสืบพันธ์
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
การหดรัดตัวของมดลูก>>นุ่ม/ยอดมดลูดสูง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาหมู่เลือด
การตรวจเลือดเพื่อประเมิน การแข็งตัวของเลือด เช่น Platelets, PT, PTT , Fibrinogen depression
่ CBC
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันการตกเลือด
ในรายที่คาดว่าจะมีการตกเลือดให้เตรียมสารน้ำ ยา และอุปกรณ์กู้ชีวิตให้พร้อมใช้งานได้ทันที
ตรวจหากลุ่มเลือดขณะตั้งครรภ์
ระมัดระวังการทำคลอดทุกระยะให้ถูกวิธี โดยป้องกันการฉีกขาดบริเวณรอบปากช่องคลอด ไม่เร่งทำคลอดรกก่อนรกลอกตัว
5.ดูแลในระยะ 2 ชั่วโมงหลังคลอดอย่างใกล้ชิด ได้แก่การหดรัดตัวของมดลูก การสังเกต จำนวนและลักษณะของเลือดที่ออกจากช่องคลอด และสัญญาณชีพ
1.ประเมินปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ ภาวะทุพโภชนาการ ภาวะโลหิตจาง ประวัติการตั้งครรภ์และการคลอด
การพยาบาลขณะตกเลือด
6.ให้ออกซิเจน
7.ตรวจการมีเลือดออก และการหดรัดตัวของมดลูก ถ้ามีการฉีกขาดให้เย็บซ่อมแซม
5.ดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง ป้องกันการขัดขวางการหดรัดตัวของมดลูก
8.ช่วยเหลือแพทย์ในการตรวจหาเศษเยื่อหุ้มรกค้าง หากมีเศษรกค้างรักษาโดยการขูดมดลูกเอาเศษรกออก หรือขูดเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบ และบริเวณพื้นที่ที่มีเลือดออก เพื่อให้มดลูกหดรัดตัวดี>>>พยาบาลควรอธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด ให้กำลังใจ ตรวจสัญญาณชีพ หลังการขูดมดลูก หมั่นตรวจจำนวนเลือดที่ออกทางช่องคลอด การหดรัดตัวของมดลูก และกระเพาะปัสสาวะ
4.ดูแลการให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำและยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
บันทึกปริมาณสารน้ำที่ได้รับ จำนวนเลือดที่เสียไป จำนวนปัสสาวะที่ออก
3.คลึงมดลูกให้แข็งตัวเป็นระยะ
10.ตรวจสอบผลการตรวจเลือด ติดตามค่า CBC
2.จัดท่าให้นอนราบเพื่อให้เลือดไปเลี้ยงหัวใจและสมองดีขึ้น
11.อธิบายพยาธิสภาพที่เกิดขึ้น ตลอดจนการรักษาพยาบาลให้ผู้คลอดทราบและเข้าใจเพื่อลด ความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือในการรักษา
1.ตรวจและบันทึกสัญญาณชีพ ทุก 15 นาที จนกว่าจะคงที่ เพื่อประเมินความรุนแรงของการ เสียเลือด ถ้าความดันเลือดต่ำ ชีพจรเบาเร็ว ควรสังเกตอาการอย่างอื่นที่บ่งชี้ถึงภาวะช็อค
12.ติดตามปริมาณน้ำคาวปลา สี กลิ่น จากจำนวนผ้าอนามัย
13.ถ้ามีเลือดออกไม่หยุด กรณีรักษาดังกล่าวข้างต้นแล้ว แพทย์อาจพิจารณา ตัดมดลูก>>>พยาบาลควรให้กำลังใจและอธิบายให้เข้าใจถึงความจ าเป็นในการรักษา เพื่อให้ผู้ป่วยปรับตัวกับสถานการณ์จริง และมีกำลังใจที่จะดูแลตนเอง
การพยาบาลระยะหลังการตกเลือด
ระวังอุบัติเหตุที่อาจเกิดขึ้นจากอาการหน้ามืด เมื่อลุกนั่ง
5.แนะนำการคลึงมดลูก
ดูแลให้รับประทานอาหารและยาวิตามิน ธาตุเหล็ก ตามแผนการรักษา
6.แนะนำการปฏิบัติตัวหลังคลอด ได้แก่การเปลี่ยนแปลงของน้ำคาวปลา ระดับยอดมดลูก การดูแลความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
2 .ดูแลให้ได้รับการพักผ่อนอย่างเพียงพอ
7.แนะน าอาการผิดปกติที่ควรมาพบแพทย์ ได้แก่ อาการของการติดเชื้อ มีเลือดออกทางช่องคลอด น้ำคาวปลามีกลิ่นเหม็น เป็นต้น
1.ใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณเลือดที่ออกทางช่องคลอด
8.กระตุ้นการรับรู้เกี่ยวกับบุตร
การวินิจฉัยการพยาบาล
มารดาวิตกกังวล กลัวอันตรายจากการตกเลือดหลังคลอด
3.มารดาต้องการส่งเสริมสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารก
มารดาเกิดการตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
อุบัติการณ์
-ACOG พบว่า ทุกๆ4นาทีจะมีการเสียชีวิตของมารดา 1 คน จากภาวะตกเลือดหลังคลอด -อนามัยแม่และเด็กแห่งประเทศไทย พบว่า ปีพ.ศ.2533-2559 พบว่าสาเหตุการตายของมารดาจากการตกเลือดเนื่องจากการตั้งครรภ์และการคลอดสูงเป็นอันดับแรกมาโดยตลอด
เป็นการตกเลือด ระยะที่เกิดขึ้นภายหลังคลอด 24 ชั่วโมงไป
แล้วจนถึง 6 สัปดาห์หลังคลอด
นายศรายุทธ์ มีแก้ว รหัส601001115