Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาวกมลลักษณ์ แต้มสี…
การพยาบาลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ความคิดรวบยอด
ความเจ็บป่วยของเด็ก
เด็กแต่ละคนจะแตกต่างกันออกไปตามปัจจัยต่างๆ
แบ่งได้ดังนี้
ขั้นก่อนปฏิบัติการ (18 เดือน – 7 ปี)
ประเภท 0 : เด็กยังไม่มีความเข้าใจ ตอบไม่สัมพันธ์
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 :สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ
ขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : เกิดจากสิ่งที่ไม่ดีหรือเป็นอันตรายมาสัมผัสกับตัว
ประเภทที่ 4 : ความเจ็บป่วยเกิดขึ้นภายในร่างกาย
ปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )
ประเภทที่ 5 : อวัยวะภายในร่างกายทํางานไม่ดี
ประเภทที่ 6 : อธิบายได้โดย
การเปลี่ยนแปลงของอวัยวะภายในร่างกาย
ความตาย
ขึ้นอยู่กับแต่ละระยะของพัฒนาการ
วัยแรกเกิดและวัยทารก : ไม่เข้าใจความหมาย
วัยอนุบาลหรือวัยก่อนเรียน : เหมือนการนอนหลับ ตายแล้วฟื้นได้
วัยรุ่น : เข้าใจว่าเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ทุกคนต้องเผชิญ
วัยเรียน : ตายแล้วไม่สามารถกลับมาได้อีก
ปฏิกิริยาของครอบครัวเมื่อเด็กเข้ารับการรักษา
ปฏิกิริยาของเด็ก
ในการเข้ารักษาตัวที่รพ.เป็นภาวะวิกฤตของเด็กทำให้ต้องมีการปรับตัว ทำให้มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อการเข้ารับการรักษาของเด็กดังนี้
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก (separation anxiety)
ความเจ็บปวดทางกายเนื่องจากการตรวจรักษา (body injury and
pain)
ความเครียดและการปรับตัวของเด็กและครอบครัว : การสูญเสียความสามารถในการควบคุม (loss of control)
การเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ (body image)
ความตาย
ปฏิกิริยาของบิดามารดา
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ
2.โทษตัวเองว่าดูแลเด็กไม่ดีพอ
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล
ความรู้สึกหงุดหงิดที่ไม่สามารถดูแลลูกได้เต็มที่เหมือนกับที่บ้าน
5.เศร้าใจกับโชคชะตาที่ครอบครัวประสบอยู่
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
องค์ประกอบที่สำคัณ คือ เคารพในความแตกต่าง พยาบาลร่วมมือกับครอบครัวหรือหน่ายอื่นๆในการดูแลเด็ก สนับสนุนครอบครัวในการดูแลเด็ก ให้ข้อมูลสนับสนุนเกี่ยกับการดูแลเด็กให้บิดามารดาทราบ
บทบาทของพยาบาลเด็กในการใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
1.เปิดโอกาสให้ครอบครัวดูแลเด็กที่เข้ารับการรักษา
2.เสริมสร้างพลังบวกให้แก่ครอบครัว
3.มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างพยาบาลกับครอบครัว
4.สร้างกลไกความสัมพันธ์ โดยตกลงกับครอบครัวว่าพยาบาลจะทำหน้าที่ด้านใด
การวางแผนและการดําเนินการ
การจัดสิ่งแวดล้อม สร้างบรรยากาศให้คล้ายกับบ้านให้มากที่สุด จัดให้มีของเล่นช่วยให้เด็กรู้สึกสบายใจเป็นอิสระ
อำนวยความสะดวกแก่เด็กและครอบครัว ไม่บังคับเด็กมากเกินไป ส่งเสริมให้รพ.เป็นมิตรกับเด็กโดย สร้างบรรยากาศดี บริการที่ดี บริหารจัดการดี
ประสานงานการจัดกิจกรรมส่งเสริมฟื้นฟูพัฒนาการด้านความรู้และสติปัญญาขณะเจ็บป่วย
การสื่อสารกับเด็กมีความแตกต่างตามระยะพัฒนาการของเด็ก
ให้การพยาบาลครอบคลุมทั้ง 4 ด้าน
การพยาบาลทั่วไป (provide general interventions)
การพยาบาลเพื่อความสุขสบายทางกายและความปลอดภัย
(providephysical comfort and safety interventions)
การพยาบาลเพื่อส่งเสริมความรู้ความเข้าใจ (provide
cognitiveinterventions)
การพยาบาลด้านจิตสังคมและอารมณ์(provide psychosocial and
emotion interventions)
การประเมินผล การให้การพยาบาลแก่เด็กเป็นระยะ
หลักการพูดคุยกับเด็กเรื่อง “ความตาย”
สร้างความสัมพันธ์ที่ดีและความไว้วางใจกับผู้ปกครองและเด็ก
พูดคุยโดยให้เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็ก
ใช้การอธิบายในรูปแบบอื่นๆ นอกจากการพูดเพื่อช่วยให้เด็กเข้าใจมากขึ้น
เปิดโอกาสให้เด็กได้ซักถามหรือเล่าถึงความรู้สึกของตนเอง
เปิดโอกาสให้เด็กได้ทําในสิ่งที่อยากทําตามความเหมาะสม
พยายามให้เด็กได้รับรู้ว่า เด็กมีคุณค่าต่อพ่อแม่พี่น้อง ญาติและคนใกล้ชิดเสมอมา
นางสาวกมลลักษณ์ แต้มสี เลขที่ 9 รุ่น 36/1
อ้างอิง : เกศนี บุณยวัฒนางกุล .การดูแลผู้ป่วยเด็กระยะสุดท้าย: ความท้าทายของบุคลากรทีมสุขภาพ
Pediatric palliative care: challenging for health care providers.สืบค้นเมื่อวันที่ 22 พ.ค.63,สืบค้นจาก
http://www.smj.ejnal.com/e-journal/showdetail/?show_detail=T&art_id=1331