Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา ระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
ระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก
ระบบประสาท
การประเมินอาการทางระบบประมาทในเด็ก
ประเมินด้านร่างกาย
ชักประวัติ:การคลอด,การเลี้ยงดู
การตรวจร่างกาย:สัญญาณชีพ,ศีรษะ,ตา
อาการระบบประสาท
ระดับความรู้สึกตัว
ซึมStuporous
ใกล้หมดสติ
Semi coma
ง่วงDrowsy
หมดสติComa
รู้สึกตัวดีAlert
ตา
รูม่านตา
การกรอกตา
ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว
การเปลี่ยนแปลงของสัญญาณชีพ
ภาวะความดันสูงในกะโหลกศีรษะสูง
อาการ
ทารกและเด็ก
ความรู้สึกตัวลดลง อาเจียน สัญญาณชีพเปลี่ยน ตาเหล่ ตาเข
ทารก
กะหม่อมหน้าโป่งตึง กะโหลดศีรษะโต ตาบวม
เด็ก
ปวดศีรษะ ตาบวม
การรักษา
จัดท่านอน 15-30 องศา
ประเมินสัญาณชีพทุก 1-2 ชม.
ให้ยาขับปัสสาวะ
จำกัดน้ำ
เพิ่มอัตราการหายใจให้ปกติ
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ
(Hydrocephalus)
อาการ
หัวบาตร
หัวโตกว่าปกติ
รอยต่อกะโหลกศีรษะแยกออกจากกัน
รอยเปิดกะโหลกโป่งตึง
หนังศีรษะบางและเห็นเส้นเลือดดำ
เสียงเคาะกะโหลกเหมือนหม้อแตก
อาการเหมือนความดันในกะโหลกศีรษะสูง
ตากลอกลงล่าง กลอกขึ้นบนไม่ได้
ตาเขเข้าในมองไปด้านข้างไม่ได้เนื่องจาก CN 6TH Palsy มองเห็นภาพซ้อน
รีเฟลกช์ไวเกิน
การหายใจผิดปกติ
การพัฒนาการช้ากว่าปกติ
สติปัญญาต่ำกว่าปกติ
เด็กเลี้ยงยากไม่รับประทานอาหาร
การมีน้ำไขสันหลังเพิ่มมากขึ้นในกะโหลกศีรษะ บริเวณVentricleของสมอง และชั้นใต้ arachnoid การมีน้ำมากเกินไป
ประเมินสภาพ
หัวโตเมื่อเทียบกับลำตัว รอบศีรษะโตกว่ารอบอกเกิน 2-5 ชม.กระหม่อมหน้ากว้าง ตึง กระดูกกะโหลกศีรษะแยกออก ทำให้ขนาดของศีรษะขยาย
เมื่อมีน้ำมากขึ้น หน้าผากโปนเด่น หนังศีรษะแยกออกทำให้ขนาดของศีรษะขยายใหญ่กว่าปกติ
การรักษา
ยาขับปัสสาวะ ลดการสร้างน้ำหล่อสมองไขสันหลัง
การผ่าตัด
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่าง
Spina Bifida
Spina bifda occuta : ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebral archesไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่
Spina bifda cystica : ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันsลังทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง
Meningocele : ก้อนหรือถุงน้ำประกอบไปด้วยเยื่อหุ้มสมองน้ำไขสันหลัง
Myelomeningocele หรือ Meningomyelocele :กระดูกสันหลังผิดปกติ มีก้อนยื่นออกมา ก้อนหรือถุง มีเยื่อหุ้มสมอง น้ำไขสันหลังและไขสันหลัง
อาการ
มีก้อนที่หลัง หย้าผาก ขาอ่อนแรง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา ร่วมกับไข้
รักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษาแต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 - 48 ชั่วโมงภายหลังเคิต เพื่อลดการติดเชื้อหลังฝ่าตัดความผิดปกติขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค พัฒนาการอาจเป็นไปตามวัย หรือเป็นอัมพาตครึ่งล่าง มักทำ V P Shunt ภายหลังทารกมักต้องผ่าตัดหลายครั้ง
สมองพิการ
(Cerebral Palsy)
กล้ามเนื้อหดเกร็งSplastic
Splastic quadriplegia มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2 ข้าง คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic diplega มีความผิดปกติกล้ามเนื้อแขนขาทั้ง 2ข้าง ขาเป็นมากกว่าแขน
Splastic hemiplego ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
อาการ
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการข้ โดยเฉพาะด้านการเคลื่อนไหวการทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ซัก หูหนวก
ประมินสภาพ
ชักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่ทางการเคลื่อนไหวผิดปกติพัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ลมง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไมดี สติปัญญาปกติ
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis) การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
โรคไข้กาฬหลังแอ่น
(Meningococcal Meningitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitdes
ระยะติดต่อ 7วันก่อนมีอาการหลังได้รับยาปฏิชีวนะที่เหมะสมอย่างน้อย24 ชม.
ติดต่อละอองน้ำมูก น้ำลาย
อาการ
Meningococcemia
Acute ปวดศีรษะ เจ็บคอไอ ตามด้วยไข้สูง หนาวสั่น ปวดตามข้อ โดนเฉพาะที่ขาและหลัง ผื่นแดงจ้ำ เปลี่ยนสะเก็ดสีดำำมีผื่นหลังไข้ 24-48 ชั่วโมง
Chronic ไข้ ผื่นตามผิวหนัง ผื่นแดงจ้ำ ปวดและเจ็บข้อเป็นเดือน ไข้เป็นๆหายๆ
Fulminant ระบบไหลเวียนไม่ทำงาน ช็อคเสียชีวิตได้ ไข้สูง อ่อนเพลียมาก หลอดเลือดตีบที่วตัว ระยะสั่นๆเสียชีวิต
Meningitis
ไข้ ปวดศีรษะ คอแข็ง ซึม สับสน
การแยกผู้ป่วย
แยกStandard precaution และ droplet precaution อย่างน้อย 24 ชม.หลังเริ่ม antibiotic
ชักจากไข้สูง
(Febrile Seizure)
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเชลเชียส อาการชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปีพบมากช่วงอายุ 17 - 24 เดือน
Simple febrile seizure (primary febrile seizure)
การชักเป็นแบบทั้งตัว
ระยะเวลาการชักเกิดช่วงสั้น ๆ ไม่เกิน 15 นาที
มีไข้ร่วมกับซักในเด็กอายุ 6 เดือน ถึง 5 ปี
ไม่มีการชักช้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน - หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
ระยะเวลาการซักเกิดนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักช้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไช้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอแรดนอยด์ที่อยู่รอบๆ สมองและไขสันหลังและเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย ส่วนมากพบในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ที่พบบ่อย เกิดจากเชื้อแบคที่เรีย 3 ตัว คือ Haemophilus influenzae, Neisseria meningitidis, Streptococcus peumoniae
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลง หมดสติ คอแข็ง Kernig's Sign Positive , Brudzinski's singn Positive
การตรวจน้ำไขสันหลัง
ค่าปกติของน้ำไชสันหลัง ปกติจะไม่มีสี
ความดันระหว่าง 75-180 มม.นำ (5- 15 มม.ปรอท
โปรตีน 15 - 45 mg / 100 ml
(1% ของ serum protein)
กลูโคส 50-75 mg / 100 ml
คลอไรด์ 700-750 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
ภาวะชักและโรคลมชัก
(Seizure and Epilepsy)
อาการ
อาการบางที่นำมาก่อนหลายชั่วโมง
หรือ 2-3 วัน ได้แก่ เวียนศรีษะ กล่มเนื้อกระตุก
อาการเตือน อาการเกิดขึ้นนำมาก่อนที่จะมีอาการ เช่นอาการชา เห็นแสงไฟ ระยะวลาอาจจะสั้นมากเป็นวินาที่หรือนาที
อาการเกร็ง (Tonic phase ) เป็นระยะที่เกร็งกล้ามเนื้อทั่วๆไป อาจมีน้ำลายมาก กีดฟัน
อาการกระตุกแขนขา โตยระยะแรกจะถี่
และต่อไปค่อยๆลตลงจนกระทั่งหยุด
อาการหลังชัก เป็นระยะที่กล่ามเนื้อคลายตัว ผู้ป่วยอาจหมดสติต่อไป ปรมาณ 2-3นาที และอาจหลับต่อ เมื่อตื่นขึ้นผู้ปวยมักจะมีอาการมีนงง ปวตศรีษะ คลื่นใส่
การชัก (Seizure) เป็นอาการที่เกิดขึ้นอย่างฉับพลันการชักในเด็กมีลักษณะอาการแสดงที่แตกต่างและมีหลายรูปแบบมากกว่าในผู้ใหญ่
โรคลมชัก (Epilepsy)ภาวะทางระบบประสาทที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำ ๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง โตยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจัยกระตุ้น ผลจากเชลส์ประสาทสมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติ เคิตเป็นครั้งคราวทันทีทันใดและรุนแรง มีอาการผิดปกติของกล้ามเนื้อลาย การรับความรู้สึก อวัยวะภายในโดยแสดงออกทางระบบประสาทอัตโนมัติ พฤติกรรมผิดปกติและความรู้สึกตัวลดลง
Convulsion (อาการเกร็งและ/หรือกระตุก) หมายถึง อาการแสดงทาง motor ผิดปกติ แสดงอาการด้วยการเกร็งกระตุก เกิดจาก Seizure หรือสาเหตุอื่น เช่น syncope, breath holding spell, cyanotic spell เป็นต้น
Seizure (อาการชัก)คือภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วของคลื่นไฟฟ้าสมอง โดยมีการปล่อยคลื่นไฟฟ้าที่ผิดปกติ (epileptiform discharge) จากเชลล์ประสาทในสมองอาการชักเป็นอาการแสดงออกหรือมีความรู้สึกที่ผิดไปจากปกติที่เกิดขึ้นทันทีโดยอาการแสดงจะขึ้นกับตำแหน่งของสมองที่ทำงานผิดปกติ
Status epilepticus หมายถึง การชักต่อเนื่องนานมากกว่า 30 นาที หรือการชักหลายครั้งในช่วงเวลานานกว่า30นาทีโดยผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวเป็นปกติขณะหยุดชัก
สาเหตุ
ภาวะติดเชื้อที่กะโหลกศีรษะ
ภาวะเลือดออกในกะโหลกศีรษะ
ภาวะผิดปกติทาง metabolism
ภาวะผิดปกติทางไต
เนื้องอกในกะโหลกศีรษะ
โรคบาดทะยัก
ภาวะไข้สูงในเด็กเล็ก
ความผิดปกติของสมองแต่กำเนิด
โรคลมชัก
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ
กระดูกหักในเด็ก
สาเหตุ
อุบัติเหตุนำมาก่อนมีแรงกระแทกบริเวณกระดูกโดยตรง เช่นการตี รถชน ทางอ้อม เช่น หอล้ม หรืออาจเกิดจากพยาธิของโรค เช่นมะเร็งกระดูก
อาการ
ปวดกดเจ็บ
บวม
รอยจ้ำเขียว
อวัยวะลักษณะผิดรูป
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจพบรังสี
กระดูกหักที่พบบ่อย
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
กระดูกปลายแขนหัก
กระดูกข้อศอกหัก
กระดูกต้นขาหัก
กระดูกต้นแขนหัก
ภยันตรายต่อข่ายประสาทbrachial plexus จากการคลอด
กระดูกไหปลาร้าหัก
กิจกรรมการพยาบาล
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่ง
เข้าเฝือกปูน
ดึงกระดูก
ผ่าตัดทำ ORIF
โรคแทรกซ้อน
ลักษณะรูปร่างของนิ้วมือ และแขนในVolkmann'sischemic contrecture
อาการ
ระยะเริ่มเป็น
บวม เจ็บ ปวด นิ้งกระดิกไม่ได้ ชา คลำชีพจรไม่ได้
ระยะมีการอักเสบของกล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อบวมตึง
ระยะกล้ามเนื้อหดตัว
มือนิ้วหงิกงกใช่ไม่ได้
วิธีป้องกัน
จัดกระดูกเข้าที่
อย่างอข้อศอกมาก
ใช้Slabใส่ด้านในแขน
โรคกระดูกอ่อน
Ricket
สาเหตุ
ความผิดปกติการเผาผลาญแคลเซียม
โรคไต
ความผิดปกติการเผาผลาญ Vit D
ภาวะฟอสเฟตต่ำ
อาการ
กล้ามเนื้อหย่อน อ่อนแรง หลังแอ่น กะโหลกศีรษะใหญ่หว่าปกติ กะโหลกนิ่ม ฟ้าขึ้นช้า ผมร่วง ขาโก่ง ท่าเดินคล้ายเป็ด
การรักษา
ประคับประคอง
การรักษาสาเหตุ เช่น ให้วิตามินดี
Tuberculous Arthitis
สาเหตุ
เชื้อMycobacterium tuberculosis
อาการ
เชื้อจะแสดงอาการ 1-3ปี กระดูกถูกทำลาย บางลง เกิดโพรงหนองไม่มีอักเสบ
วินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิก อ่อนเพลีย ไข้ต่ำๆ ต่อมน้ำเหลืองโต ปวดข้อ
ห้องปฏิบัติการ CBC พบWBCปกติ/สูง CRS,ESRสูง
ตรวจรังสี:Plaint film,MRI
การรักษา
การผ่าตัด
ยาต้านวัณโรค
อาการแทรกซ้อน
กระดูกสันหลังค่อม/อาการกดประสาทไขสันหลัง
เท้าปุกClub Foot
วินิจฉัย
ลักษณะรูปร่าง เท้าจิกลงบิดเอียงเข้าด้านใน
การรักษา
การดัดและการใส่เฝือก
การผ่าตัด
กระดูก
เชื่อมข้อกระดูก
เนื้อเยื้อ
สาเหตุ
ยังไม่สามารถสรุปได้แน่ชัด อาจเกิดจาก gene และปัจจัยส่งเสริม
ฝ่าเท้าแบนFlat feet
อาการ
ตาปลา/ผิวหนังฝ่าเท้าหนา
รองเท้าสึกเร็ว
ปวดฝ่าเท้า
ปวดน่อง เข่า ปวดสะโพก
ความแบนราบ
การรักษา
พบแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ
สาเหตุ
การเดินผิดปกติ
เกิดจากเอ็นของข้อเท้า
พันธุกรรม
โรคเกี่ยวกับสมองหรือไขสันหลัง
Cerebral Palsy
ลักษณะการเคลื่อนไหว
Ataxic CP
กล้ามเนื้อยืดหดไม่เป็นระบบ
Spastic CP
กล้ามเนื้อเกร็งแน่น
Athetoid CP
กล้ามเนื้อไม่ประสาน
Mixed CP
การผสมผสานทั้งสาม
ความพิการทางสมอง การเคลื่อนไหวร่างกายผิดปกติ มีปัญหาการควบคุมการทำงานกล้ามเนื้อการพูดคุย
มะเร็งกระดูก
Osteosarcoma
อาการ
น้ำหนักลด
อาจมีกระดูกหัก
ไข้
การเคลื่อนไหวของตำแหน่งผิดปกติ
ปวดบริเวณที่มีก้อน
วินิจฉัย
ซักประวัติ:ระยะเวลามีก้อน อาการปวด
การตรวจร่างกาย:น้ำหนัก ตำแหน่งของก้อน
การตรวจห้องปฏิบัติ:MRI,CT
การรักษา
การผ่าตัด
เคมีบำบัด
รังสีรักษา
Bone and Joint infection
Osteomyelitis
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย,เชื้อรา
วินิจฉัย
ประวัติ:อาการปวด เด็กไม่ขยับแขน ขา ทารกนอนนิ่ง เด็กโต ไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
การตรวจร่างกาย:ปวดบวม แดง เฉพาะที่
ห้องปฏิบัติ:CBCพบLeucocytosis,ESR,CRP ค่าสูง
ทางรังสี:Plain flim พบเนื้อเยื่อลึกบวม Bone scan ผลบวก MRI พบsoft tissue abcess
รักษา
ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
อาการแทรกซ้อน
กระดูกและเนื้อเยื่อ
กระทบต่อPhysisเจริญเติบโตของกระดูก
ข้ออักเสบติดเชื้อ
septic arthritis
สาเหตุ
เชื้อเข้าสู้ข้อ
วินิจฉัย
ลักษณะทางคลินิค ไข้ อักเสบ ปวดบวมแดง
ผลLab เจาะน้ำไขข้อ ผลCBCพบESR,CRPสูง
การตรวจทางรังสี::Plain flim พบช่องระหว่างข้อ Ultrasound ภาวะน้ำในข้อมาก MRI การติดเชื้อ
รักษา
ยาปฏิชีวนะ
การผ่าตัด
ภาวะแทรกซ้อน
ข้อเคลื่อน
ข้อถูกทำลาย
Growth plateถูกทำลาย
หัวกระดูกข้อสะโพกตามจากการขาดเลือด
การวินิจฉัย
ปวดข้อ
ปวดมากเมื่อขยับ
T=38.3องศา
ข้อบวม
อาการทางSystemic โดยไม่พบพยาธิสภาพ
ตอยสนองดีต่อการให้ยาปฏิชีวนะ