Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อและกระดูก
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile covulsion)
คือ อาการชักที่สัมพันธ์กับไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาท
อาการที่สำคัญ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
เกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
Genneralized seixure
ระยเวลาชักสั้น ไม่เกิน 15 นาที
ไม่ชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน
ก่อน-หลัง ชักไม่มีอาการทางประสาท
2.Complex febrile seizure
Local or Genneralized seixure
ระยะเวลาชักนานเกิน 15 นาที
ชักซ้ำในการเจ็ฐป่วยครั้งเดียวกัน
หลังชักมีอาการทางระบบประสาท เช่น สมองขาด O2
การชักชนิดนี้มีความเสี่ยงสูง จะเป็นโรคลมชัก
ยาป้องกันชัก
Phenobarbital หรือ Valproic acid
โรคลมชัก (Epilepsy)
คือ ภาวะทางประสาท ที่ทำให้เกิดอาการชักซ้ำๆ อย่างน้อย 2 ครั้ง และชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกัน 24 ชม. โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุที่มีปัจจัยกระตุ้น
อาการ
Preital period ระยะก่อนชัก
อาการนำ คือ อาการที่นำมาก่อนมีอาการชัก
อาการเตือน คือ ลักษณะอาการแตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง
Peri-ictal period
คือ ระยะที่เกิดอาการชัก มักไม่เกินครั้งชม.
เกิดขึ้นทันที ระยะเวลาสั้นๆไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
Postical peroid
คือ ระยะเมื่อการชักสิ้นสุดลง ไม่เกิด24ชม.
1.Postical paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ ตีมือคว่ำหงายสลับกัน
Interical peroid
คือ ตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุด จนถึงเริ่มเกิดใหม่
ชนิดของโรคลมชัก
อาการชักเฉพาะที่(Partial / Focal seizure)
1.1 ชักเฉพาะทแบบมีสติ(Simple partial seizures /Simple focal seizure)
1.2 อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ(Complex partial seizures /Complex focal seizure)
1.3 ชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว (Focal with secondarily generalized seizures)
อาการชักทั้งตัว (Generalized seizures)
2.1 อาการชักเหม่อ (Absence) เหม่อลอย ไม่รู้สึกตัวสักครู่ ระยะเวลาสั้นๆ
อาการชัก
เกร็งกระตุก (Tonic clonic seizures)
ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว จะหมดสติร่วมกับมีอาการเกร็งกล้ามเนื้อทั้งตัวนานไม่เกิน 30 นาที ตามด้วยกล้ามเนื้อกระตุกเป็นจังหวะ ระยะเวลารวมไม่เกิน 5 นาที
ชักกระตุก ( clonic seizures)
ชักมีลักษณะกระตุกเป็นจังหวะของอาการชัก
ชักเกร็ง (Tonic seizures)
ชักแบบเกร็งแข็ง นาน2-10 วิ แขนขาจะเหยียดตรง มีอาการสั่นจากกล้ามเนื้อหดตัว ไม่รู้สึกตัว เสี่ยงอันตรายขณะชัก
ชักตัวอ่อน (Atonic seizures)
การชักที่มีการเสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันที เวลาชัก 1-2 วินาที
ชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures)
การชักที่มีลักษณะสะดุ้ง รวดเร็วคล้ายสะดุ้งตกใจ ใช้เวลาไม่กี่วินาที
เยื่อหุ้มอักเสบ (Meningitis)
คือ การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและอเเรคนอยด์
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย 3 ตัว
Haemophilus influenzae
Neisseria meningitidis
Streptococcus peumoniae
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ
คอแข็ง (Nuchal rigidity)
ตรวจพบ Kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
ตรวจ Babinski ได้ผลบวก
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
เชื้อสาเหตุ
Neisseria meningitides
การวินิจฉัย
วิธีทางชีวเคมีและวิธีPCR (กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์)
วิธีตรวจหาค่า Minimum inhibition concentration (MIC)
วิธีseminested-PCR
ระยะติดต่อ
เชื้้อจะหมดภายใน 24 ชม. หลังจากที่ ผู้ป่วยได้รับยาต้านจุลชีพที่เหมาะสม
วิธีการติดต่อ
แบบ Droplet
อาการ
ไข้ มีจ้ำเลือด (pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมดวย และอาจเกิดภาวะช็อกอย่างรวดเร็ว
Meningococcemia
Meningitis
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ 15 นาที
ยาปฏิชีวนะ เช่น Ceftriaxone /PGS/Chloramphenicol
การรักษาแบบประคับประคองและตามอาการอื่นๆ
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน และผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด (Close contact) กับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกันได้แก่ Rifampicin หรือ ceftriaxone หรือ ciprofloxacin
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโป่ง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก (OF circumference > C circumference 2.5 cms)
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Cranium enlargement
สาเหตุ
Congenital Hydrocephalus
Obstructive Hydrocephalus
Communicate Hydrocephalus
การรักษา
1.การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ
สร้างน้ำหล่อสมองและไข้สันหลัง
2.การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย (ExternalVentricularDrainage,EVD,Ventriculostomy)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
Spina Bifida
คือ ความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง
มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกสันหลังออกมาตำแหน่งที่บกพร่อง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta
Spina bifida cystica
meningocele
myelomeningocele หรือ meningomyelocele
การวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
ได้รับยากันชัก ประเภท Valporic acid
2.การตรวจ
แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนกระดูกสันหลัง
การตรวจพิเศษ
ตรวจระดับ Alpha fetoproein
CT
Transillumination Test
การป้องกัน
ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์
สมองพิการ (Cerebral palsy)
คือ ความบกพร่องของสมอง ทำให้เกิดความผิดปกติกับการเคลื่อนไหว การทรงตัว
ชนิด
กล้ามเนื้อหดเกร็ง Splastic
Splastic quadriplegia
Splastic diplegia
Splastic hemiplegia
2.Extrapyramidol cerebral palsy
3.Ataxia cerebral palsy
4.Mixed type
อาการ
การเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
การเคลื่อนไหว และการทรงตัวผิดปกติ
ปัญญาอ่อน อาการอื่นๆร่วม