Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
ภาวะไม่รู้สึกตัว
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 2
มีไข้ ความผิดปกติที่สมองทีเกิดจากการติดเชื้อของ
เยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3
มีไข้สูง เกิน 38 °c อายุประมาณ 6 เดือน – 5 ปี ไม่มีการ
ติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
กรณีที่ 1
ไม่มีไข้ ความผิดปกติของสมองที่เกิดจากการได้รับ
บาดเจ็บ เนื้องอกในสมอง โรคลมชัก
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
การวินิจฉัย
ประวัติมารดาไม่ได้รับโฟลิคขณะตั้งครรภ์ได้ยากันชักประเภท Valporic acid
pina bifida มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลัง
Spina bifida
Spina bifida occultaเกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง ไม่จําเป็นต้องรักษา
Spina bifida cystica มีการยื่นของกระดูกไขสันหลังเห็นเป็นถุงหรือ
อาการสําคัญ
ก้อนที่หลังหรือที่หน้าผากแขนขาอ่อนแรงทั้งสองข้างควบคุมการขับถ่ายไม่ได้มีไข้ร่วมกับอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อถูกกระตุ้น การหายใจไม่มีประสิทธิภาพ มีประวัติสมองขาดออกซิเจน Cerebral palsy มีการเจริญเติบโตช้าปัญญาอ่อนประวัติมารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
สมองพิการ (CP : Cerebral palsy)
Ataxia cerebral palsy เดินเซ ล้มง่าย ทรงตัวไม่ดี
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
Athetoidsis การเคลื่อนไหวผิดปกติตลอดเวลาขณะตื่น
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซึกใดซีกหนึ่ง
Splastic quadriplegia กล้ามเนื้อแขนขา2ข้างคอลําตัวอ่อนผิดปกติ
Splastic diplegia แขนขาทั้ง2ข้างขาเป็นมากกว่า
การพยาบาล
ทําทางเดินหายใจให้โล่ง
ดูดเสมหะ
จัดท่านอนตะแคงข้างเพื่อป้องกันการสําลัก
แรงดันในสมองไม่เพิ่มขึ้น
จัดท่านอนให้สูง 15 - 30 องศา
ภาวะน้ำคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
การรักษา
การผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ําในโพรงสมองออกนอกร่างกาย(ExternalVentricularDrainage, EVD)
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ําในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
ด้วยยาขับปัสสาวะ Acetazolamide
อาการ
ศีรษะโต กระหม่อมหน้าโป่งตึงศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนมอาเจียนพุ่ง
บทบาทของพยาบาลในการดูแล
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
รวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
ประเมินทางระบบประสาท
การเคลื่อนไหวและการทรงตัว
การลืมตา และรูม่านตา
การสื่อสารทางคำพูด
ระดับความรู้สึกตัว
การตรวจพิเศษต่าง ๆ
การตรวจน้ำไขสันหลัง การตรวจคลื่นสมอง MRI
ประเมินสัญญาณชีพ
ภาวะความดันในกะโหลกศีรษะสูง
อาการ
ระหม่อมหน้าโป่งตึงมีรอยแยกของกระโหลกศีรษะมากขึ้นอาเจียน กระโหลกศีรษะโตมาก จอประสาทตาบวม
การรักษา
รักษาเฉพาะรักษาจากสาเหตุ เช่น เนื้องอกการอุดกั้นของทางเดินน้ําไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้นกรณีมี IICP สูงอย่างเฉียบพลัน
ใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจเพื่อลดความดันPaCO2ในหลอดเลือดแดง
จัดท่านอนศีรษะสูง 15 - 30 องศาเพื่อช่วยให้การไหลเวียนกลับของน้ำไขสันหลังกลับเข้าสู่หัวใจได้ดีขึ้น
ภาวะชักจากไข้สูง และโรคลมชัก
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่าง ๆ ที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื้อระบบ
ทางเดินอาหาร , ทางเดินปัสสาวะ , ทางเดินหายใจ
อาการ
เด็กจะมีอาการชักเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 องศาเซลเซียส
มักเกิดในเด็กอายุ 3 เดือน ถึง 5 ปี
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
มีความผิดปกติของระบบประสาทก่อนมีอาการชัก
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
อายุ เด็กที่มีอาการชักครั้งแรกในช่วงอายุก่อน 1 ปี
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
การชักเป็นแบบทั้งตัว ระยะเวลาไม่เกิน 15 นาทีไม่มีการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน ก่อน – หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทัังตัว ระยะเวลนานมากกว่า 15 นาที เกิดการชักซ้ำในการเจ็บป่วยครั้งเดียวกัน หลังชักจะมีความผิดปกติของระบบประสาท
โรคลมชัก
เกิดอาการชักซ้ำ ๆ อย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไปและอาการชักครั้งที่ 2 ต้องห่างกันมากกว่า 24 ชั่วโมง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง
ไม่ทราบสาเหตุ
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง
อาการและอาการแสดง
เกิดในระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 5 นาทีและหยุดเอง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
สาเหตุ
การอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุดและชั้น Arachnoid
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Haemophilus influenzae, Neisseria meningitidis, Streptococcus peumoniae
อาการ
ไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ คอแข็ง
ผลตรวจ
ตรวจพบ Kernig sign,Brudzinski sign ให้ผลบวก) และ Babinski ได้ผลบวก
การประเมิน
ตรวจ CSF
ความดัน : 75 – 180 มม.น้ำ
ไม่มีเม็ดเลือดแดงและเม็ดเลือดขาว
ค่าปกติ : ไม่มีสี
โปรตีน 15 – 45 mg / 100 ml กลูโคส 50 – 75 mg / 100 ml คลอไรด์ 700 – 750 mg / 100 ml
Culture & Latex agglutination
ไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง จ้ำเลือด (pink macules)
สาเหตุ
จากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การรักษา
Glucocorticoid therapy ก่อนการให้ยาปฏิชีวนะ15นาที ยาปฏิชีวนะ
การติดต่อ
ติดต่อจากคนสู่คน โดยน้ำมูกน้ำลาย