Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท, 93fce80753f8126bad00639695a15404dc3efa3…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาท
การประเมินอาการทางประสาทในเด็ก
ด้านร่างกาย
ประวัติ
การคลอดของเด็ก
การเจ็บป่วยหลังคลอด
การเลี้ยงดู
อารมณ์ของครอบครัว
การตรวจร่างกาย
ระบบประสาทเเละกล้ามเนื้อ
Muscal tone
ตรวจดูความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ประเมินว่ามีเเรงต้านจากกล้ามเนื้อเเขน ขา ผู้ป่วยอยู่ในระดับใด
กล้ามเนื้อตึงตัวดีถือว่าปกติ
Babinski ' s sign
ใช้อุปกรณ์ปลายทู่ ขีดริมฝ่าเท้าตั้งเเต่ส้นเท้าถึงนิ้วเท้า
อายุเกิน 2 ปี ได้ผลบวก มี upper moter neuronelesion
Bruzinski' s sing
เด็กนอนหงายใช้มือช้อนหลัง ศีรษะคางชิดอก
มีการติดเชื้อ คอจะเเข็ง ( stiff neck)
ผล Positive เด็กเเสดงอาการเจ็บปวด/งอเข่า เเละสะโพกทันที
Kernig's sing
นอนหงาย งอเข่าทั้งสองข้าง ยกต้นขาตั้งฉากกับลำตัวทีละข้าง เเล้วเหยียดขาออก
ปกติเด็กจะยกขาตั้งฉาก เหยียดตรงได้
ติดเชื้อเยื่อหุ้มสมองอักเสบ จะทำไม่ได ผล Positive
Tendon reflex
ตรวจปฏิกิริยาตอบสนองทางระบบประสาท
ใช้ไม้เคาะเข่าเอ็น
ค่าปกติ 2+ reflex เร็ว คือ 4+ เกิดความผิดปกติของระบบประสาท
ประเมินระดับการรับรู้สติ
ระดับความรู้สึกตัว
รู้สึกตัวดี (Alert) ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
ง่วง (Drowsy) ง่วงหลับ เเต่เมื่อปลุกจะตื่น ตอบคำถามได้
ซึม ( Stuporous) หลับเป็นส่วนใหญ่ ปลุกไม่ค่อยตื่น ตอบสนองต่อความเจ็บปวด
ใกล้หมดสติ ( Semi coma) หลับตลอดเวลา ไม่ตอบสนองต่อการเขย่า
หมดสติ ( Coma ) ไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
อาการทางตา
รูม่านตา
การกลอกตา
ปฏิกิริยาการเคลื่อนไหว
การเปลี่ยนเเปลงของสัญญาณชีพ
ด้านจิตสังคมเเละจิตวิญญาณ
การรับรู้ ความคิด เชาว์ปัญญา
ความเครียด
ระบบการช่วยเหลือ สนับสนุน
ไม่รู้สึกตัวร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ
ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
เเบ่งออกเป็น
ไม่มีไข้
ลมชัก (Epilepsy)
สมองได้รับบาดเจ็บ (Head injury)
เนื้องอกในสมอง (Brain tumor)
มีไข้
Meningitis
Encephalitis
Tetanus
สมองมีการติดเชื้อ
มีไข้สูง
ไม่มีการติดเชื้อระบบประสาท
Febrile convulsion
ชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท
อาการ
ชักเมื่ออุณหภูมิสูง 39 องศาเซลเซียส
ชักภายใน 24 ชม
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
ชักเเบบทั้งตัว (generazed seizure)
ชักเกิดในช่วงสั้นๆ ไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำในครั้งเดียว
ก่อนเเละหลังชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
Complex febrile seizure
ชักเเบบเฉพาะ หรือทั้งตัว (Local generalized seizure)
ชักนาน 15 นาที
ชักซ้ำในการเจ็บครั้งเดียว
หลังชักมีอาการทางระบบประสาท
มีโอกาสเกิดโรคลมชัก
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ( Meningitis)
เกิดจากเชื้อเเบคทีเรีย 3 ตัว
Streptococcus peumoniae
Haemophilus influenzae
Neisseria meningitidis
อาการ
คอเเข็ง ( Nuchal rigidity)
ผลตรวจ Kernig's sing เเละBruzinski' s sing ผล Positive
ตรวจน้ำไขสันหลัง
โรคลมชัก ( Epilepsy)
ชักซ้ำอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป ครั้งที่ 2 ห่างมากกว่า 24 ชม
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ
ติดเชื้อทางระบบประสาทส่วนกลาง
ภยันอันตรายระหว่างคลอด หลังคลอด
ไม่ทราบสาเหตุ
ความผิดปกติ Neurotransmission ที่เกิดจากยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้
มีพยาธิสภาพภายในสมอง จัดอยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการแสดง
Preictal period (ก่อนอาการชัก)
อาการนำ
อาการที่นำมาก่อนอาการชัก
ไม่มีอาการเปลี่ยนเเปลงของคลื่นไฟ้าสมอง
อาการเตือน
เเตกต่างกันตามตำเเหน่งของสมอง
ปวด ชา ภาพหลอน
lctal event ( เกิดอาการชัก)
มักจะไม่นานเกินครึ่งชั่วโมง
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดระยะสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาทีเเละหยุดเอง
เกิดขึ้นเอง บางครั้งมีสิ่งมากระตุ้น
ส่วนใหญ่มีลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid (การชักสิ้นสุดลง)
มีการเปลี่ยนเเปลงคลื่นไฟฟ้าสมอง
อาการไม่เกิน 24 ชม.
ชนิดของโรคลมชัก
อาการเฉพาะตัว
Simple febrile seizure (ชักเฉพาะที่เเบบมีสติ)
Complex febrile seizure (ชักเฉพาะที่เเบบขาดสติ)
Focal with secondarily generalized seizures (ชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว)
อาการชักทั้งตัว
ชักเหม่อ ( Absence)
อาการเกร็งกระตุก ( Tonic clonic seizures ) ชักเกร็งกระตุกทั้งตัว
อาการชักกระตุก ( Clonic seizures ) กระตุกเป็นจังหวะของอากาารชัก
อาการชักเเกร็ง ( Tonic seizures) เสี่ยงต่ออันตรายขณะชัก
อาการชักตัวอ่อน (Atonic seizures) เสียความตึงตัวของกล้ามเนื้ออย่างทันที
อาการชักสะดุ้ง (Myoclonic seizures ) มีการหดตัวของกล้ามเนื้ออย่างรุนเเรง รวดเร็วมาก คล้ายสะดุ้งตกใจ
โรคไข้กาฬหลังเเอ่น
( Meningococcal Meningitis)
สาเหตุ
เชื้อเเบคทีเรีย Neisseria meningitides
เก็บสิ่งส่งตรวจ
วิธี PCR กรณีเก็บตัวอย่างเชื้อบริสุทธ์
ตรวจหาค่า MIC
วิธี seminested-PCR
ระยะติดต่อ
ผู้ที่ไม่มีอาการ(พาหะ)
เชื้อจะหมดไปจากช่องโพรงจมูกทางด้านหลัง
วิธีการติดต่อ
ติดต่อทางละอองน้ำมูก น้ำลาย
เกิดโรคได้ 3 เเบบ
เเบบไม่มีอาการ/ อาการน้อย
เเบบเชื้อเเพร่เข้ากระเเสเลือด/ เลือดเป็นพิษ
เเบบเยื้อหุ้มสมองอักเสบ
อาการเเสดง
Meningococcemia
Acute Meningococcemia เกิดอย่างเฉียบพลัน เป็นตุ่มน้ำ
Chronic Meningococcemia ผื่นเเดงจ้ำ
Fulminant Meningococcemia
Meningitis
พบการระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
การรักษา
การรักษาตามอาการ / ประคับประครอง
ยาปฏิชีวนะ
Giucocorticoid therapy ก่อนให้นาปฏิชีวนะ 15 นาที
ไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร/ น้ำคั่งในกระโหลกศีรษะ
(Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตเเต่กำเนิด กระหม่อมหน้าโปร่ง
ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก ( OF circumference > C circumference 2.5 cms)
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
Congenital Hydrocephalus (ผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง)
ObstructiveHydrocephalus (ผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินหายใจ)
CommunicateHydrocephalus (ผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสันหลัง)
อาการทางคลินิก
หัวบาตร (Cranium enlargement)
หัวโตกว่าปกติเมื่อเทียบกับ Growth curve ปกติ
รอยต่อกระโหลกศีรษะเเยกออกจากกัน
รอยเปิดกระโหลกโปรงตึง
หนังศีรษะบางเเละเห็นเส้นเลือดดำ
การรักษา
การรักษาด้วยยา
ยาขับปัสสาวะ Acetazolmide
ลดการสร้างน้ำหล่อเลี้ยงสมอง เเละไขสันหลัง
การผ่าตัด
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองนอกร่างกาย
ใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองเข้าสู่ร่างกาย ที่นิยม จากโพรงสมองลงช่องท้อง
ภาวะเเทรกซ้อนจากการผ่าตัด
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การอุดตันของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ระบายน้ำในโพรงสมองมากเกินไป
โพรงสมองตีบเเคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในสมอง
ไตอักเสบ
ภาวะ IICP
รักษาเฉพาะ รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP
รักษาเบื้องต้น (กรณี IICP สูงเฉียบพลัน)
จัดท่านอนศีรษะสูง 15-30 องศา
ให้ยาขับปัสสาวะทางหลอดเลือดดำ
Hypothemia ลด Cerebral Metabolism คุมอุณหภูมิร่างกาย 27-31 องศาเซลเซียส
รักษาความผิดปกติที่เกิดจากพยาธิสภาพเดิม
ไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง หน้าผาก ขาอ่อนเเรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระตลอดเวลา
ไข้ร่วมกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
Spina Bifida
ความบกพร่องของกระดูกสันหลัง มีถุงผ่านจากกระดูกไขสันหลัง ออกตำเเหน่งที่บกพร่อง
เเบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta ผิดปกติกระดูกสันหลังส่วน Vetebrl arches
Spina bifida cystica ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง ทำให้เป็นถุง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
ได้รับยากันชัก ประเภท Valporic acid
การตรวจร่างกาย
แขนขาอ่อนเเรง
พบก้อน/ถุง ตามเเนวกระดูกสันหลัง
การตรวจพิเศษ
ตรวจระดับ Alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์
Transillumination test
การรักษา
Spina bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา Spina bifida cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 ชม.
ไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
สมองพิการ (CP : Cerebrl palsy)
ทำให้เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการเคลื่อนไหว การทรงตรง
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง
Splastic quadriplegia
Splastic diplegia
Splastic hemiplegia
Extrapyramidol cerebral palsy
Ataxia cerebral palsy
Mixed type
อาการเเสดง
การเจริญเติบโตเเละพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อื่นๆ : ชัก หูหนวก ตาบอด การรับรู้ผิดปกติ
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดาติดเชื้อขณะตั้งครรภ์ เช่น หัดเยอรมัน
ประเมินร่างกาย
เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น
ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
พัฒนาไม่เป็นไปตามวัย