Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของระบบหายใจ - Coggle Diagram
ความผิดปกติของระบบหายใจ
สาเหตุ
ควัน ฝุ่นละออง
การติดเชื้อ
สูบบุหรี่
โรคปอดอักเสบ
สาเหตุ
เชื้อไมโครพลาสมา
เชื้อไมโครพลาสมา
เชื้อไวรัส
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
สารเคมี
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่ใ่ท่อทางเดินหายใจ เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด หรือมีภาวะขาดสารอาหาร
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง
ผู้ที่มีโรคประจำตัว
ประเภทของของโรคปอดอักเสบ
Ventilator associated pneumonia (VAP)
Community-asquired pneumonia (CAP)
Hospital-acquired pneumonia (HAP)
Healthcare associated pneumonia (HCAP)
การวินิจฉัย
อาจมีเริมที่ริมฝีปาก
ปอดอาจเคาะทึบ เสียงหายใจค่อย มีเสัยงกรอบแกรบ
อาจมีอาการตัวเขียวหรือภาวะขาดน้ำ
ซ๊่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน
หายใจตื้นแต่ถี่ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง
หน้าแดง ริมฝีปากแดง ลิ้นเป็นฝ้า
ไข้สูง (39-40 องศา)
พยาธิสภาพ
ระยะปอดแข็งตัว
ระยัที่3 ระยะฟื้นตัว
ระยะที่1 ระยะปอดแข็งตัว ผนังถุงลมบวม
โรคแทรกซ้อนของปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตแล้วกระจายไปสู่อวัยวะอื่น
หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
ช็อคจากการติดเชื้อ
ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับหัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
เกิดการจับกลุ่มของโลหิตอุดตันในหลอดโลหิต
การรักษา
ดูแลบำบัดระบบหายใจ
ดูแลความสมดุลของสารน้ำและอิเล็กโตรไลต์
ให้ยาปฏิชีวนะ
ให้อาการโปรตีนสูง
เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
ดูแลความสะอาดของปากและฟันให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอง
ให้ยาลดไข้
Pulmonary embolism
สาเหตุ
Hypercoagulability
กรรมพันธุ์
VEssel injury
ความอ้วน การใส่สายสวนในหลอดเลือดดำส่วนกลง ใส่อุปกรณ์ที่ต้องอยู่นิ่ง
Venous stasis อาจเกิดหลังผ่าตัดที่ต้องนอนนานๆ
พยาธิ
Atelectasis alveolar dead space
Pulmonary edema
Decrease surfactant
Vasocontrict
Hypoxic V/Q imbalance
วินิจฉัย
ถ้าอุดตันหลอดเลือดขนาดใหญ่ ผู้ป่วย จะตัวเย็น มีค.ดันโลหิตต่ำ ช็อค ร่วมกับอาการเขขียวคล้ำ
ABG พบภาวะ Hypoxemia
ตรวจร่างกายพบ หายใจเร็ว มีระดับออกซิเจนในเลือดต่ำ หัวใจเต้นเร็วและหลอดเลือดดำที่คอโป่ง
D-dimer, Troponin l หรือ t สูงกว่าปกติ
หายใจหอบเหนื่อยอย่างกะทันหัน ใจสั่น แน่นหน้าอก
การรักษา
การให้ยาต้านลิ่มเลือด
การผ่าตัดเอาลิ่มเลือดออก
การให้ยาละลายลิ่มเลือด
ARDS
ความผิดปกติที่ปอด
จมน้ำ
การบาดเจ็บที่แอด
ปอดอักเสบ ติดเชื้อ
การสูดดมสารพิา
Embolism
ความผิดปกติที่อวัยวะอื่นแล้วส่งผลมาที่ปอด
ได้รับเลือดปริมาณมาก
Pancreatitis
Over drug
DIC
Shock จาก Sepsis หรือเสียเลือด
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการเเลกเปลี่ยนก๊าซ
ความผิดปกติของ pulmonary capillary endothelium
การจำกักการขยายตัวของปอด
ภาวะเลือดออกในช่องเยื่อหุ้มปอด
moderate hemothorax
massive hemothorax
minimal hemothorax
สาเหตุ
Intercosะtal chest injury
Blunt chest injury
Penetrating chest injury
Decelerating injury
วินิจฉัย
ครวจร่างกาย
อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไแด้านตรงข้าม
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก
อาการ
แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ หรือช็อคจากการเสียเลือด
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด
Spontaneous pneumothorax
Open pneumothorax
Simple pneumothorax
ภาวะมีของเหลวในเยื่อหุ้มปอด
สาเหตุ
โรคอื่นๆ
โรคเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
โรคตับเเข็ง
โรคไต
โรคหัวใจ
มะเร็งปอดหรือมะเร็งอวัยวะอื่นที่แพร่กระจายไปยังอวัยวะอื่น
โรคปอด
การวินิจฉัย
ประวัติ การเกิดโรคที่เป็ฯต้นเหตุ
การตรวจร่างกาย
ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ อาจพบหลอดลมคอเอียง
การรักษา
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุ
การระบายทรวงอก
ข้อบงชี้
หลังผ่าตัดหัวใจและทรวงอก และใส่PEEP
ผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
สำหรับใส่ยาเข้าไปทางท่อระบายทรวงอก
มีน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีหนองในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีลมและมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
มีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด
วัตถุประสงค์
ป้องกันเมดิแอสตินัมเคลื่อนตัวไปหรือถูกกด
การระบายทรวงอก
เพื่อช่วยให้เยื่อหุ้มปอดทั้งสองมาบรรจบกัน
เพื่อช่วยให้ปอดขยายตัวได้ดี
เพื่อระบายอากาศและสารเหลว
การต่อท่อระบาย
ระบบสองขวด
ระบบขวดเดียว
ระบบสามขวด
Hepatitis
พยาธิสภาพ
Icteric Stage
Recovery Period
Prodomal Stage
การแพร่กระจาย
การสัมผัสกับเลือดหรือสารน้ำร่างกายจากผู้ติดเชื้อโดยตรง
การสัมผัสกับเวชภัณฑ์ที่ปนเปื้อน
การวินิจฉัย
การตรวจหาRNA virus โดยปฏิกิริยาลูกโซ่พอลิเมอเรส และตรวจหาโปรตีนด้วยวิธีอีไลซา
ภาวะแทรกซ้อน
หลายอวัยวะล้มเหลว
เลือดออกรุนแรง
ดีซ่าน
สับสน
ชัก
โคม่าหมดสติ
ซ็อค
การรักษา
รักษาสมดุลของเหลวและอิเล็กโตรไลต์เพื่อป้องกันภาวะขาดน้ำ
การให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม
การป้องกัน
แยกผู้ป่วย และสวมเสื้อผ้าป้องกัน
ไม่สัมผัสกับเลือดหรือสารคัดหลั่งที่ติดเชื้อ
กำจัดไวรัสอีโบลาได้ด้วยความร้อน 60 องสา เป็นเวลา 30-60นาที หรือต้มเป็นเวลา 5 นาที
โรคไขหวัดใหญ่(Human influensa)
สาเหตุ
ติดเชื้อ Intluensa virus มี RNA 3 ชนิด A B C
การแพร่กระจาย
การกระจายสู่คนทางละอองฝอย
สัมผัสโดยตรงกับสิ่งคัดหลั่งต่างๆที่ปนเปื้อน
ภาวะแทรกซ้อน
ระบบประสาท
ระบบหัวใจ
ระบบทางเดินหายใจ
การรักษา
amantadine และ Rimantadin
Neuraminidase inhibitor
การพยาบาล
ลดไข้ผู้ป่วย
การล้างมือ
พักผ่อนมากๆ
กินอาหารที่มีประโยชน์
ปิดจมูก ปาก เวลาไอจาม
ควรพบแพทย์
ควรหยุดพักงานหรือการเรียนชั่วคราว
ควรจัดให้ผู้ป่วยอยู่ห้องแยก
เชื้อไข้หวัดนก (Avian influenza)
อาการ
ไข้สูง หนาวสั้น ปวดศรีษะ ปวดเมื่อย กล้ามเนื้ออ่อนเพลีย มีน้ำมูก ไอ เจ็บคอ บางครั้งพบว่ามีอาการตาแดง
การวินิจฉัย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ประวัติสัมผัสกับสัตว์ที่่เป็นดรค
มีอาการทางระบบทางเดินหายใจ
การเพาะเชื้อไวรัสจากสารคัดหลั่ง
มีไข้มากกว่า 38 องศา
การตรวจสารคัดหลั่งด้วยวิธี PCR influenza type A ให้ผลบวก
ยาที่่ใช้รักษา
Oseltamivir
Zannamivir
วิธีการป้องกันการระบาด
ฉีดวัคซีนป้องกันไข้หวัดใหญ่เพื่อไม่ให้เชื้อกลายพันธุ์
คนที่สัมผัสไก่และมีไข้ต้องกินยาต้านไวรัส
ต้องกำจัดแหล่งแพร่เชื้ออย่างรีบด่วน
ผู้ที่ทำลายไก่ต้องสวมชุดเพื่อป้องกันการรับเชื้อ
ต้องมีระบบคัดกรองผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้หวัดนก
ผู้ที่มีอาการไอหรือจาม ต้องใช้ Tissue ปิดปากและจมูก
จัดให้มี Alcohol สำหรับเช็ดมือ
แยกผู้ป่วยที่มีอาการไอออกจากผู้อื่นอย่างน้อย 3 ฟุต
โรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง
อาการ
ปวดศรีษะมาก
หนาวสั่น
ปวดเมื่อยตามร่างกาย
อาการเจ็บคอ ไอแห้งๆ
ปอดบวมอักเสบ
ไข้สูงมากกว่า 38 องศา
อาการหายใจลำบาก
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ในการตรวจหาเชื้อ MERS-CoV
reverse-transcriptase polymerase chain reaction
ผลการเอกซเรย์ปอด
การรักษา/การดูแล
การให้ยาปฏิชีวนะ กรณีมีปอดอักเสบ
การรักษาตามอาการ
การให้ยาต้านไวรัส
Covid-19
ระยะฟักตัว 2-14 วัน
การแพร่กระจาย
เชื้อขับออกทางอุจจาระ
การขยี้ตา
ละอองเสมหะ
นิยาม
การเฝ้าระวังที่สถานพยาบาล
รักษาแล้วอาการไม่ดีขึ้น
หาสาเหตุไม่ได้
เป็นบุคลาการทางการแพทย์หรือสาธารณสุข
มีอาการรุนแรง
ใกล้ชิดผู้สงสัยติดเชื้อ
การป่วยเป็นกลุ่มก้อน
การเฝ้าระวังที่สถานพยาบาล
การเฝ้าระวังที่ด่านควมคุมโรคติดต่อระหว่างประเทส
การรักษา
Confirmed case with mild symtoms and no riisk factors
Confirmed case with mild sympoms and risk factors
Confirmed case ไม่มีอาการ
Comfirmed case with pneumonia