Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่ ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกต…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลผู้ใหญ่
ที่มีปัญหาสุขภาพเกี่ยวกับความผิดปกติ
ของระบบทางเดินหายใจ
พยาธิสรีรวิทยา
ของระบบหายใจ
การระบายอากาศไม่เพียงพอ (Alveolar hypoventilation)
การบกพร่องในการซึมผ่าน
(Diffusion defect or impairment)
ความไม่สมดุลของอัตราส่วนการระบายอากาศ
กับการไหลเวียนเลือด
เลือดไหลทางลัด (Shunt effect)
การประเมินสภาพ
ระบบหายใจ
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ Arterial Blood Gas
การแปลผล
ค่า pH ปกติ คือ 7.35 -7.4 ถ้า
น้อยกว่า7.35 เรียกว่า acidosis
มากกว่า7.45 เรียกว่า alkalosis
ค่าปกติ PaCO2 อยู่ในช่วง 35-45 mmHg ถ้า
น้อยกว่า35 mmHg เรียกว่า alveolar hyperventilation
มากกว่า45mmHg เรียกว่า alveolar hypoventilation
ค่าปกติของ PaO2 อยู่ในช่วง 80-100 mmHg
ดูที่ค่าHCO3และ base excess (BE)
HCO3 22-26 mEq/L ค่า BE + 2.5 mEq/L
ดูที่ค่า oxygen saturation ค่าปกติ 97-100%
การตรวจพิเศษ
ภาวะหายใจล้มเหลว (Respiratory Failure)
การแลกเปลี่ยนก๊าซผิดปกติมากจนมีผลให้ความดันออกซิเจนในเลือดแดง
PaO2 ต่ำกว่า 50 mmHg
PaCO2 มากกว่า 50 mmHg
สาเหตุ
Decreased Fi O2
Hypoventilation
V/Q mismatch
Diffusion defect
ชนิดของการหายใจล้มเหลว
Lung Failure
Oxygenation failure
มีภาวะHypoxemia,PaO2≤ 60mmHg
Gas exchange failure
“hypoxemia”
Acute
(minutes to hours)
Chronic
(several day or longer)
Pump Failure
Ventilatory failure
มีภาวะHypoxemia,PaO2 ≤ 45 mmHg และ pH<7.35
“hypercapnia”
Acute
(minutes to hours)
Chronic
(several day or longer)
อาการแสดงของภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด
ระบบประสาท
ระยะแรก กระสับกระส่าย สับสน
ระยะรุนแรง ซึม หมดสติ รูม่านตาขยายไม่ตอบสนองต่อแสง กล้ามเนื้อกระตุก
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว หอบเหนื่อย
ระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
Pเร็ว BPสูง การเต้นของหัวใจเร็วขึ้น
เมื่อรุนแรงหัวใจจะบีบตัวลดลง เกิด arrhythmia BPลดลง สร้างเม็ดเลือดแดงเพิ่มขึ้น เลือดหนืดมากขึ้น หัวใจซีกขวาล้มเหลวเฉียบพลัน
ระบบผิวหนัง
ระยะแรกจะมีเหงื่อออก ตัวเย็น
ระยะขาดรุนแรง จะมีอาการตัวเขียว
อาการแสดงของภาวะคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือด
ระบบประสาท
ส่วนกลาง
ระยะแรกกระตุ้น Central chemoreceptor ทำให้เพิ่มการหายใจ อารมณ์ดี มักจะตื่นกลางคืน สับสนและง่วงนอน
ในตอนกลางวัน
ระยะที่คั่งมาก กดการหายใจ ซึมง่วงนอน สับสน ไม่มีสมาธิถ้าCO2 สูงขึ้นจนถึง 3 เท่า อาจ Coma
ระบบหลอดเลือด
ชีพจรเต้นแรง ความดันโลหิตสูง หลอดเลือดในสมองขยายทำให้ปวดศีรษะมากเวลากลางคืน
ระบบหัวใจ
และหลอดเลือด
บีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจ เกิด arrhythmia ความดันโลหิตลดลงและมีอาการเขียว
อื่น ๆ
สั่น กล้ามเนื้อกระตุก อาจตรวจพบ flapping tremor
เหงื่อออกมากในตอนกลางคืน หลังอาหาร
หรือหลังออกกำลังกาย
โรคหืด (Asthma)
การอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้หลอดลมมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อสารก่อภูมิแพ้หรือสิ่งแวดล้อมมากกว่าปกติ
ปัจจัยและสิ่งกระตุ้น
สารก่อภูมิแพ้
สารระคายเคือง
ยาโดยเฉพาะกลุ่ม NSAID ,beta –blocker
การติดเชื้อไวรัสของ
ทางเดินหายใจส่วนต้น
สาเหตุอื่น ๆ เช่น การออกกำลังกาย ความชื้น ความเย็น
การวินิจฉัย
ไอ แน่นหน้าอก หายใจหอบมีเสียงหวีด
มีอาการเมื่อได้รับสิ่งกระตุ้น
พบร่วมกับอาการภูมิแพ้อื่น allergic rhinitis conjunctivitis และ dermatitis
มีประวัติคนในครอบครัวป่วยเป็นโรคหอบหืด
เกิดอาการหลังออกกำลังกาย
การรักษา
Controllers
Glucocorticosteroids:
inhaled (ICS), systemic (OCS)
Inhaled long-acting 2-agonists (LABA) in combination with ICS
Leukotriene modifiers
Sustained-release theophylline
/ Xanthines
Anti-IgE
(Cromones)
Other systemic steroid-sparing therapies
Relievers
Short-acting 2agonists (SABA): inhaled / oral
Inhaled anticholinergics: (combination with salbutamol or fenoteral)
Short-acting theophylline
การควบคุมโรคหืด
การให้ความรู้แก่ผู้ป่วย ญาติ และผู้ใกล้ชิด
แนะนำวิธีการหลีกเลี่ยงหรือขจัดสิ่งที่แพ้และอาการหอบหืด
ควรออกกำลังกายและผ่อนคลายความเครียด แนะนำการฝึกหายใจแบบ Purse lip
ควรพกยาบรรเทาอาการติดตัวเป็นประจำ
ควรดื่มน้ำอุ่นมาก ๆ พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ทุกครั้งที่สูดยาสตีรอยด์ ควรบ้วนปากด้วยน้ำสะอาดทันที
ไม่ควรซื้อยาชุดหรือยาลูกกลอนทานเอง และห้ามหยุดยาทันที
ป้องกันไม่ให้เป็นหวัด ควรฉีดวัคซีนป้องกัน
ประเมินระดับความรุนแรงและการประเมินผลการควบคุมโรคหืดระดับความรุนแรงของการควบคุมโรค
การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดเรื้อรัง
การจัดแผนการรักษาสำหรับผู้ป่วยโรคหืดกำเริบเฉียบพลัน
6.การจัดระบบให้มีการดูแลรักษาต่อเนื่องอย่างมีประสิทธิภาพ
เป้าหมายของการรักษา
สามารถควบคุมอาการของโรคให้สงบลงได้
ป้องกันไม่ให้เกิดอาการกำเริบของโรค ยกระดับสมรรถภาพการทำงานของปอด
สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ใกล้เคียงกับคนปกติ
หลีกเลี่ยงภาวะแทรกซ้อนต่างๆ จากยารักษาโรคให้น้อยที่สุด
ป้องกันและลดอุบัติการณ์การเสียชีวิตจากโรคหืด
ปอดอุดกั้นเรื้อรัง
(Chronic Obstructive Pulmonary Disease)
อาจเกิดจาก 2 โรค
โรคหลอดลมอักเสบเรื้อรัง (chronic bronchitis)
โรคถุงลมโป่งพอง (pulmonary emphysema)
ปัจจัยเสี่ยง
ลักษณะทางพันธุกรรม
สภาวะแวดล้อม
ควันสูบบุหรี่ ควันไฟ
การติดเชื้อของปอดและ
ทางเดินหายใจเรื้อรัง
การวินิจฉัย
1.ประวัติอาการ ปัจจัยเสี่ยง
และอาการแสดงที่พบ
2.ตรวจภาพรังสีทรวงอก หัวใจโต
หลอดเลือด ขั้วปอดมีขนาดโตขึ้น
3.การวัดสมรรถภาพการทำงานของปอดพบค่า FEV1 ต่ำกว่าปกติ
4.การตรวจวิเคราะห์ก๊าซใน
เลือดแดง พบค่า PaCO2 สูงขึ้น
ระดับความรุนแรง
GOLD 1 : Mild : FEV1 ≥ 80% predicted
GOLD 2 : Moderate : 50% ≤ FEV1< 80%predicted
GOLD 3 : Severe :30% ≤ FEV1< 50% predicted
GOLD 4 : Very severe : FEV1< 30%predicted
การวินิจฉัย
มีเสมหะในหลอดลม
ถุงลมโป่งบางส่วน และแฟบบางส่วน
การขยายของทรวงอก
มีการทำลายเนื้อปอด
เป้าหมายของการรักษา
1.บรรเทาอาการของโรคให้น้อยลงที่สุด
2.ป้องกันและลดภาวะกำเริบของโรค
3.ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้ป่วยดีขึ้น
ทางการรักษาระยะที่โรคสงบ
1.การรักษาทางยา
bronchodilator
Methylxanthine
Corticosteroid
2.การฟื้นฟูสมรรถภาพปอด ออกกำลังกาย
แบบแอโรบิค ฝึกกล้ามเนื้อ
การหายใจแบบ Pursed –lip
รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ไม่ควร
รับประทานอาหารคาร์โบไฮเดรตมาก
เมื่อมีโรคติดเชื้อทางเดินหายใจ
ควรรีบพบแพทย์
หลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้
แนะนำการพ่นยาที่ถูกวิธี
การหยุดบุหรี่
การพยาบาล
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อพร่องออกซิเจน เนื่องจากมีการตีบแคบของหลอดลม
1.ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะลักษณะการหายใจ อาการเหนื่อยหอบ สังเกตอาการ cyanosis วัด O2 sat Keep > 92% ทุก 1 ชม.และ Monitor EKG
ฟังเสียงการหายใจ
จัดท่านอนศีรษะสูง 30-45 องศา (Fowler’s position)
ดูแลให้ออกซิเจน 1 – 3 ลิตรต่อนาที (24 – 32%)
ถ้าหายใจวายพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจและต่อเครื่องช่วยหายใจ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม โดยพ่นยา Berodual MDI ทุก 4 ชั่วโมงหรือให้ยารับประทาน
ดูแลให้ยา Dexamethasone 4 mg iv ทุก 6 ชม.
ถ้าผู้ป่วยมีไข้ต้องให้ยาลดไข้ และเช็ดตัวลดไข้
ติดตามผลการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดงอย่างสม่ำเสมอ
เสี่ยงต่อการเกิดความไม่สมดุลของสารอาหารและน้ำ เนื่องจาก
ภาวะการหายใจล้มเหลว
ทำความสะอาดปากและฟัน
2.ประเมินความต้องการสารอาหาร
ที่ควรได้รับต่อวันเพื่อวางแผนการให้สารน้ำ
3.ให้อาหารที่มีโปรตีนและแคลอรี่สูง
คาร์โบไฮเดรตต่ำ
ให้ผู้ป่วยได้รับน้ำอย่างน้อยวันละ 3,000 มล.
3.ความทนต่อกิจกรรมลดลงเนื่องจากเหนื่อยอ่อนเพลีย และหายใจลำบาก
1.ประเมินสภาพผู้ป่วยและให้นอนพัก
2.สอนและกระตุ้นให้ผู้ป่วยได้มีการออกกำลังกาย ร่วมกับการห่อปาก (Purse lip)
3.ดูแลการได้รับยาขยายหลอดลม
ก่อนออกกำลังกายประมาณ 30 นาที
ปอดอักเสบ
(Pneumonia)
สาเหตุ
ติดเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus Streptococcus Klebsiella
เชื้อไวรัส เช่น หัด ไข้หวัดใหญ่ อีสุกอีใส
เชื้อไมโคพลาสมา
เชื้อรา พบได้ค่อนข้างน้อย
เชื้อโปรโตซัว Pneumocystis carinii
สารเคมี เช่น น้ำมันก๊าดสำลักเข้าไปในปอด ควันพิษ สำลักอาหาร
ปัจจัยเสี่ยง
ผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น โรคไต โรคเบาหวาน โรคปอด อุดกั้นเรื้อรัง หรือหอบหืด
ผู้ที่มีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง ปลูกถ่ายอวัยวะ ผู้สูงอายุ และเด็กเล็ก
ผู้ที่ดื่มสุรา ใช้สารเสพติด
ผู้ที่เสี่ยงต่อการสำลักง่าย
ผู้ป่วยที่ใส่ท่อทางเดินหายใจ
เจาะคอ หรือใส่สายให้อาหาร
ประเภท
HAP
VAP
CAP
HCAP
การวินิจฉัย
ไข้สูง (39-40 ºซ.) ลิ้นเป็นฝ้า
หายใจตื้นแต่ถี่ ๆ นาทีละ 30-40 ครั้ง ซี่โครงบุ๋ม รูจมูกบาน
ปอดอาจเคาะทึบ (dullness)
เสียงหายใจค่อย (diminished
breath sound)
มีเสียงกรอบแกรบ (crepitation)
ใต้สะบัก
พยาธิสภาพ
ระยะที่1 ระยะเลือดคั่ง ผนังถุงลมบวม
ระยะที่ 2 ระยะปอดแข็งตัว พบโมโนนิวเคลียร์และไฟบรินแทรกอยู่ จะมีน้ำและ Exudate คั่งในถุงลม
ระยะที่ 3 ระยะฟื้นตัว
การรักษา
1.เก็บเสมหะส่งเพาะเชื้อ
2.ให้ยาปฏิชีวนะ เช่น Cephalosporins ,Ampicilin ยาแก้ไอ ยาขับเสมหะ
3.ดูแลบำบัดทางระบบหายใจ
4.ดูแลความสมดุลของสารน้ำ
และอิเล็คโตรลัยท์
5.ให้อาหารโปรตีนสูง
6.ดูแลความสะอาดของปากและฟัน
ให้ผู้ป่วยได้พักผ่อนเพียงพอ
7.ให้ยาลดไข้ป้องกันและควบคุม
การแพร่กระจายของเชื้อ
โรคแทรกซ้อน
1.ปอดบวมน้ำ หรือมีโลหิตคั่งในปอด
2.เยื่อหุ้มปอดอักเสบ ทั้งชนิดมีน้ำ
และไม่มีน้ำในโพรงเยื่อหุ้มปอด
3.มีหนองในโพรงเยื่อหุ้มปอด
4.มีการติดเชื้อในกระแสโลหิต
แล้วกระจายไปสู่อวัยวะอื่นๆ
5.หูชั้นกลางอักเสบและโพรงอากาศอักเสบ
6.ช็อคจากการติดเชื้อ
7.ระบบไหลเวียนล้มเหลวร่วมกับ
หัวใจวายชนิดโลหิตคั่ง
8.เกิดการจับกลุ่มของโลหิต
อุดตันในหลอดโลหิต
Adult Respiratory Distress Syndrome
สาเหตุ
มีประวัติปอดได้รับบาดเจ็บ การสูดสำลัก
การให้สารน้ำและเลือดทดแทน
การเกาะกลุ่มของเกร็ดเลือด
พิษจากการให้ออกซิเจนเข้มข้นเป็นเวลานาน
ติดเชื้อที่ปอดรุนแรง ภาวะช็อค
พยาธิสภาพ
ความผิดปกติของ pulmonary
capillary endothelium
ความผิดปกติที่ alveolar epithelium
การเปลี่ยนแปลงการแลกเปลี่ยนก๊าซ
การพยาบาล
การใช้ PEEP
ภาวะเลือดในช่องเยื่อหุ้มปอด
(Hemothorax)
สาเหตุ
Penetrating chest injury
Intercostal chest injury
Blunt chest injury
Decelerating injury
การวินิจฉัย
อาการ : แน่นหน้าอก หายใจตื้น เหนื่อยหอบ
ความดันโลหิตต่ำ หรือ ช็อกจากการเสียเลือด
ตรวจร่างกาย : อาจพบหลอดลมคอ และหัวใจถูกดันไปด้านตรงข้าม เสียงลมเข้าปอดเบาหรือไม่ได้ยินเลย เคาะทรวงอกจะพบว่าทรวงอกเคาะทึบ
ภาพถ่ายรังสีทรวงอก : จะเห็นเงาของเหลวเป็นสีขาวทึบอยู่ระหว่างปอดกับผนังทรวงอกหรือกระบังลม ถ้าใช้เข็มเจาะโพรงเยื่อหุ้มปอดจะได้เลือดไม่แข็งตัว
ภาวะลมรั่วในช่องเยื่อหุ้มปอด
(Pneumothorax)
Simple pneumothorax
เกิดจากแรงกระแทกทำให้เยื่อหุ้มปอดฉีกขาด
Spontaneous pneumothorax
เกิดจากการแตกของถุงลมในปอด
Tension pneumothorax
มีลมรั่วเข้าไปในโพรงเยื่อหุ้มปอด
และลมไม่หยุดรั่วและไม่กลับออกไป
การรักษา
ปิดแผล 3 ด้าน โดยใช้ฟอยล์อลูมินัม
หรือวาสลินก๊อส
ถ้ามีข้อบ่งชี้ ก็ใส่ท่อช่วยหายใจ
เฝ้าระวังภาวะลมดันในช่องปอด
ถ้าผู้ป่วยหายใจแย่ลง ให้เอาผ้าปิดแผลออก
ถ้าไม่ได้ผล ให้ใช้เข็มเจาะระบายลม
ภาวะมีของเหลวในช่องเยื่อหุ้มปอด(Pneural effusion)
การวินิจฉัย
ประวัติ : การเกิดโรคที่เป็นต้นเหตุ
การตรวจร่างกาย : ทรวงอกเคลื่อนไหวลดลง เคาะปอดได้ยินเสียงทึบ ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงลดลง ได้ยินเสียง pleural friction rub อาจพบหลอดลมคอเอียง
พยาธิสภาพ
มีการสร้างของเหลวในชั้นของเยื่อหุ้มปอดมากจนเกินไป จนเบียดพื้นที่ในการแลกเปลี่ยนก๊าซ มีอยู่ 2 ประเภท
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวใส (Transudative pleural effusion) เกิดจากหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง
น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น เกิดจากการอักเสบ เช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค มะเร็งปอด
การรักษา
เจาะของเหลวออก
รักษาตามสาเหตุเพื่อป้องกันไม่ให้มีของเหลวสะสมอยู่ระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดขึ้นมาอีก
นางสาวตะวัน พงษ์อินทร์วงศ์
รหัส 612501033 เลขที่ 31