Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยกระดูกหักในเด็ก
ความหมาย
กระดูกหัก หมายถึง ภาวะที่โครงสร้างหรือส่วนประกอบของกระดูกแยกออกจากกันอาจเป็นการแตกแยกโดยสิ้นเชิง
สาเหตุที่พบบ่อยเกิดจากการหกล้มเป็นส่วนใหญ่
อาการและอาการแสดง
มีอาการปวดและกดเจ็บ บริเวณที่กระดูกมีพยาธิสภาพ
บวม
รอยจ้ำเขียว
ข้อเคลื่อน หมายถึง ภาวะที่มีการเคลื่อนของผิวข้อออกจากที่ควรอยู่หรือหลุดออกจากเบ้า
กระดูกและข้อเคลื่อนในเด็กส่วนใหญ่รักษาโดยไม่ผ่าตัด
กระดูกมีแผลเปิด
กระดูกหักผ่านข้อ
กระดูกหักจากการหดตัวของเอ็นกล้ามเนื้อ
กระดูกหักในเด็กตามการแบ่งของ Salter
กระดูกคอฟีเมอร์หักและเคลื่อน
ข้อเคลื่อนที่มีชั้นกระดูกติดอยู่ในข้อ
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ เกี่ยวกับการหกล้ม
การตรวจร่างกาย ลักษณะกระดูกหัก
ตรวจพบทางรังสี
การรักษา
ระมัดระวังไม่ให้กระดูกหักหรือข้อเคลื่อนได้รับบาดเจ็บเพิ่มขึ้น
แก้ไขตามปัญหาและการพยากรณ์โรคที่จะเกิดกับ กระดูกหักนั้นๆ
กระดูกหักที่พบบ่อย
กระดูกต้นแขนหัก (fracture of humerus)
ในทารกแรกเกิดมักเกิดในรายที่คลอดติดไหล่แล้วผู้ท้าคลอดสอดนิ้วเข้าไปเกี่ยวออกมา
ส่วนในเด็กโตอาจเกิดการล้มแล้วต้นแขนหรือข้อศอกกระแทกพื้นโดยตรง จะพบหัวไหล่บวม ช้า เวลาจับไหล่หรือแขนให้มีการเคลื่อนไหวจะเจ็บปวด
การเคลื่อนของหัวกระดูกเรเดียส
(Transient subluxation of radial head , pulled elbow )
เป็นการเคลื่อนตัวของกระดูกเรเดียสออกมาจากข้อ radio-humeralไม่หมด
เกิดจากการดึงแขนในขณะที่ข้อศอกเหยียดและแขนทอนปลายมือคว่ำ
กระดูกต้นขาหัก ( fracture of femur )
กระดูกข้อศอกหัก ( Supracondylar fracture )
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้นในท่าข้อศอกเหยียดตรง หรือข้อศอกงอ
กระดูกปลายแขนหัก
เกิดจากการหกล้มเอามือเท้าพื้น
ภยันตรายต่อข่ายประสาท brachial plexus จากการคลอด
(birth palsy)
สาเหตุ
เกิดจากข่ายประสาทถูกดึงยึด
การวินิจฉัย
จากการสังเกตเห็นแขนที่ผิดปกติเคลื่อนไหวได้น้อยกว่าธรรมดา
การรักษา
ไม่จำเป็นต้องรักษาด้วยการผ่าตัด
กระดูกไหปลาร้าหัก ( fracture of clavicle )
อาการและอาการแสดง
Pseudoparalysis ขยับข้างที่เป็นได้น้อย
ปวด บวม ข้างที่เป็น
เอียงคอไปด้านที่เจ็บ ยื่นตัวไปข้างหน้า
Crepitus คล้าได้เสียงกรอบแกรบ
การรักษา
ในทารกและเด็กเล็กจะตรึงแขนข้างที่หักให้อยู่นิ่งโดยมัดแขนให้ข้อศอกงอ90 องศา ให้ติดกับลำตัว
ในเด็กอายุมากกว่า 3 ปี อาจใช้ผ้าสามเหลี่ยมคล้องคอ ห้อยแขนให้ข้อศอกงอ 90 องศา
การพยาบาล
การพยาบาลเพื่อป้องกันเนื้อเยื่อรอบกระดูกที่หักได้รับบาดเจ็บเพิ่ม เนื่องจากการทิ่มแทงของกระดูก
ประเมินลักษณะการบาดเจ็บที่ได้รับ
เคลื่อนย้ายเด็กด้วยความระมัดระวัง
จัดกระดูกให้อยู่นิ่งตามแผนการรักษา
เข้าเฝือกปูน
ประเมินอาการภายหลังเข้าเฝือกภายใน 24 ชั่วโมง 5 P
ยกแขนที่เข้าเฝือกให้สูง
การจัดเตรียมเด็กก่อนเข้าเฝือก
ระมัดระวังไม่ให้เฝือกเปียกน้ำ
แนะน้าเด็กและญาติในการดูแลเฝือก
การดึงกระดูก (Traction)
ชนิดของ Traction
Bryant’s traction
ในเด็กที่กระดูกต้นขาหักตั้งแต่แรกเกิดจนถึงอายุไม่เกิน 2 ขวบ
Over Head traction หรือ Skeletal traction the upper limb
ใช้ในการรักษากระดูกหักที่ต้นแขน
Dunlop’s traction
Displaced Supracondylar Fracture
Skin traction
ทำในเด็กโต อายุมากกว่า3 ขวบขึ้นไป
Russell’s traction
ใช้ในเด็กโตที่มีFracture shaft of femurบริเวณ supracondyla region of femur
ผ่าตัดทำ open reduction internal fixation (ORIF)
การเตรียมความพร้อมผู้ป่วยก่อนการผ่าตัด
ด้านร่างกาย
การเตรียมผิวหนังเฉพาะที่
การดูแลความสะอาดของร่างกาย
การตรวจวัดสัญญาณชีพ
การประเมินอาการของระบบประสาท
การให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ด้านจิตใจ
การพยาบาลผู้ป่วยกลับจากห้องผ่าตัด
ประเมินระดับความรู้สึกตัวของผู้ป่วย
การประเมินระดับความเจ็บปวดโดยใช้ pain scale
ประเมินปริมาณเลือดที่ออกบริเวณแผลผ่าตัด
การพยาบาลเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการถูกจ้ากัดเคลื่อนไหว
ป้องกันและลดอาการข้อติดแข็งและกล้ามเนื้อลีบ
ป้องกันการเกิดแผลกดทับ ด้วยการเปลี่ยนท่าที่
ลดอาการท้องผูกด้วยการกระตุ้นให้เด็กมีการเคลื่อนไหว
ช่วยให้ปอดขยายตัวเต็มที่ด้วยการกระตุ้นให้เด็กหายใจเข้าออกลึกๆแรงๆหลายๆครั้ง
ประเมินอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ถึงการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง
การพยาบาลเพื่อป้องกันการติดเชื้อที่กระดูกเนื่องจากมีทางเปิดของผิวหนังถึงกระดูก
ท้าความสะอาดบาดแผลก่อนการเข้าเฝือกที่ด้วยการชะล้างสิ่งแปลกปลอมที่อยู่ในบาดแผลออกให้หมด
ประเมินลักษณะอาการและอาการแสดงที่บ่งชี้ว่ามีการติดเชื้อเกิดขึ้นจาก ลักษณะแผล
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตาแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับประทานอาหารที่จะช่วยเสริมสร้างเนื้อเยื่อ
.การพยาบาลเพื่อลดความ เครียดวิตกกังวลเมื่อ
เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ประเมินสภาพความต้องการทางด้านจิตใจของเด็กและญาติว่าต้องการช่วยอะไรบ้าง
สร้างความมั่นใจและความรู้สึกที่ดีแก่เด็กและญาติที่มีต่อการ
การพยาบาลเพื่อบรรเทาปวด
ประเมินระดับอาการปวดของผู้ป่วย
จัดท่าผู้ป่วยให้อยู่ในท่าที่ถูกต้อง
ตรวจดูว่าเฝือกคับหรือskin traction พันแน่นเกินไปหรือไม่
การพยาบาลเพื่อให้ค้าแนะน้าการปฏิบัติตัวเมื่อกลับไปอยู่บ้านอย่างถูกต้อง
การดูแลแผลผ่าตัด ควรระวังไม่ให้แผลเปียกน้ำหรือสกปรก
ห้ามผู้ป่วยและญาติแกะแผลหรือเองเฝือกออกเอง
ควรสังเกตอาการผิดปกติที่จำเป็นต้องมาโรงพยาบาลทันที
ควรรับประทานอาหารที่มีประโยชน์เพื่อให้แผลหายดี
โรคคอเอียงแต่กำเนิด (Congenital muscular Torticollis)
อาการ
มักคลาพบก้อนที่กล้ามเน้ือข้างคอด้านที่เอียง
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย ลักษณะของผู้ป่วย
ภาพรังกระดูกคอ
การรักษา
ยืดกล้ามเนื้อบริเวณคอที่หดสั้น
การผ่าตัด
polydactyly
สาเหตุ
พันธุ์กรรม
การรักษา
ผ่าตัด
กระดูกสันหลังคด (Scoliosis)
สาเหตุเกิดจากการเจริญผิดปกติของกระดูกสันหลัง
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ x-ray
อาการแสดง
กระดูกสันหลังโค้งไปด้านข้าง
ทรวงอกเคลื่อนไหวจากัด มักหายใจตื้น
พบการเลื่อนของกระดูกสันอกจากแนวลาตัว
กล้ามเนื้อและเอ็นด้านเว้าจะหดสั้นและหนา
ข้อศอกและกระดูกเชิงกรานไม่อยู่ระดับเดียวกัน
ผู้ป่วยเอียงตัวไปด้านข้าง
การรักษา
ป้องกันไม่ให้โรคมากขึ้น
แก้ไขหรือลดความพิการ
ป้องกันและลดความปวด
ให้กระดูกสันหลังมีความสมดุลและแข็งแรง