Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การทบทวนวรรณกรรม เเละการเขียน กรอบเเนวคิดการวิจัย, นางสาวถิรพร…
บทที่4 การทบทวนวรรณกรรม
เเละการเขียน กรอบเเนวคิดการวิจัย
-ความหมายของการทบทวนวรรณกรรม
การศึกษาเชิงทฤษฎี หรือผลงานวิจัย หรือรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด หรือทฤษฎีในการทําวิจัย
ศึกษาจากวารสาร หนังสือ ตํารา รายงานการวิจัย
หรือแหล่งความรู้อื่น ๆ
การอ่าน
การฟัง
การซักถาม
ใช้ความสามารถในการวิเคราะห์และสังเคราะห์ ให้ได้แนวคิดที่เป็นประโยชน์ในการทําวิจัย
-ความสำคัญของการทบทวนวรรณกรรม
เพื่อเลือกและกําหนดปัญหาการวิจัย
เพื่อแสดงถึงวิวัฒนาการเกี่ยวกับความรู้ ของเรื่องที่ทําการวิจัย
เพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้างกรอบแนวคิดใน การวิจัย
-จุดมุ่งหมายของการทบทวนวรรณกรรม
รวบรวมเเนวความคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย
มีความรอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ
การเตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย
เป็นการประเมินความเป็นไปได้ในการวิจัย
เพื่อรวบรวมข้อมูลรายละเอียดในเรื่องวิธีการ เเละเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เพื่อให้เกิดความไว้วางใจในการเปรียบเทียบ การวิเคราะห์เเละการเเปล ความหมายของข้อมูลกับสรุปล่าสุดจากงานวิจัยที่คล้ายคลึงกัน
การทบทวนวรรณกรรมจะช่วยให้ผู้อ่านคุ้นเคยกับวิธีการ ศึกษาเเละข้อมูลต่างๆ ที่มีอยู่ในปัจจุบัน
-หลักเกณ์การทบทวนวรรณกรรม
เกี่ยวข้องใกล้เคียงกับเรื่องที่กำลังทำวิจัย
ครอบคลุมตัวเเปรที่จะศึกษามากที่สุด พิจารณาจากปัญหา การวิจัยเเละผลการวิจัยที่ได้
เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางการพยาบาลหรือศาสตร์สาขาอื่นๆ
พิจารณางานวิทยานิพนธ์หรืองานวิจัยที่ได้เสนอเเนวคิดทฤษฎี เกี่ยวกับเรื่องที่ทำอยู่
-ขั้นตอนทบทวนวรรณกรรม มี 3ระยะ
การค้นหาเอกสารเเละงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
วิธีการเขียนผลการ ทบทวนวรรณกรรม
ขั้นตอนการเขียนเรียบเรียบ ผลการทบทวนวรรณกรรม
เเนวคิดหรือทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง กับเรื่องที่ทำการวิจัย
ข้อค้นพบเกี่ยวกับตัวเเปรที่ ศึกษา หรืองานวิจัยที่สำคัญ
กล่าวถึงสิ่งที่น่าจะศึกษาหรือ ทําวิจัยต่อเนื่องจากที่ศึกษา
วิธีการเขียนผลการ ทบทวนวรรณกรรม
เขียนโดยใช้ชื่อผู้แต่งนำต้นประโยค หรือย่อหน้า
เขียนโดยใช้เนื้อเรื่องนํา
-หลักเกณฑ์สําคัญในการเขียนผลการ ทบทวนวรรณกรรมให้มีคุณภาพ
มีการวางแผนที่ดี ก่อนเริ่มต้นเขียนต้องวางแผน
วิธีการนําเสนอที่ดี การเสนอเอกสารและงานวิจัยที่ เกี่ยวข้องควรเสนอแนวคิด
เน้นการเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยที่ทํา
เป็นการทบทวน (Review) ไม่ใช่จําลอง (Reproduce) งานวิจัย
มีความต่อเนื่องและมีลําดับ
มีหลักยึดในการเขียนอ้างอิง
สาระของการนําเสนอผลการทบทวนเอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
-การประเมินเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 1 ระบุจุดประสงค์ในการอ่านและประเมินเอกสาร นั้นให้กระจ่างชัด
ขั้นที่ 2 อ่านบทความผ่าน ๆ อ่านหัวเรื่อง บทคัดย่อ ความย่อ ข้อสรุป
ขั้นที่ 3 ทบทวนจุดประสงค์ในการประเมินให้ชัดเจนว่าผู้ วิจัยคิดอย่างไร
ขั้นที่ 4 รวบรวมความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ที่เกี่ยวข้องกับ เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ขั้นที่ 5 ประเมินเอกสาร ชั้นนี้ต้องอ่านให้ละเอียด พิจารณาอย่าง มีเกณฑ์และแยกองค์ประกอบในการประเมิน
-วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิง
เป็นการอ้างอิงเอกสารที่อยู่ตอนท้ายรายงานการวิจัย
ให้ผู้อ่านทราบรายการหนังสือที่นํามา อ้างอิงไว้ในรายงานการวิจัย
เขียนโดยใช้หลักการเขียน ตามแนว APA 6 th
-ข้อผิดพลาดที่มักพบในการทบทวนวรรณกรรม
นักวิจัยรีบร้อนในการทบทวน
นักวิจัยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Resource) มากไป
นักวิจัยสนใจเฉพาะสิ่งที่ค้นพบในรายงานวิจัย
นักวิจัยมองข้ามแหล่งข่าวสารอื่นๆ เช่น หนังสือพิมพ์,นิตยสาร
นักวิจัยไม่วางขอบเขตการทบทวนวรรณคดี
นักวิจัยบันทึกแหล่งข้อมูลที่มาของวรรณคดีไม่ถูกต้อง
นักวิจัยต้องจดข้อความในบัตรบันทึกมากเกิน
-ขั้นตอนการกําหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
ทําความเข้าใจชื่อเรื่องการวิจัย
กําหนดประเด็นปัญหาหลัก
กําหนดตัวแปร
กําหนดข้อมูลและแหล่งข้อมูล
กําหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการทราบ
-หลักในการกําหนดกรอบ แนวคิดในการวิจัย
ตรงประเด็นกับเรื่องที่ต้องการศึกษามากที่สุด
ง่ายและไม่สลับซับซ้อน
สอดคล้องกับความสนใจ
-ประโยชน์ของการเขียนกรอบ แนวคิดในการวิจัย
ขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล
ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
-ความหมายของกรอบ แนวคิดการวิจัย
ทฤษฎี แนวความคิดหรือหลักการที่ใช้อ้างอิง หรือใช้เป็นบรรทัดฐานในการทําวิจัย
นางสาวถิรพร นาคเกิด รหัสนักศึกษา 612901032