Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล :baby::skin-tone-2:,…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล :baby::skin-tone-2:
ความหมาย:baby_bottle:
บุคคลตั้งแต่แรกเกิด ถึง 15 ปี หรือไม่เกิน 18 ปี บริบูรณ์
ช่วงวัย :baby_chick:
Newborn ทารกแรกเกิด 28 วันหลังคลอด
Infant ทารกอายุมากว่า 28 วันถึง 1 ปี
Toddler เด็กวัยเดิน อายุ 1-3 ปี
Preschool age เด็กวัยก่อนเรียน 3-5 ปี
School age เด็กวัยเรียน 6-12 ปี
Aldolescent วัยรุ่น 13-15 ปี
สิทธิเด็ก (2535) :baby_bottle:
สิทธิในการมีชีวิต :baby_chick:
สิทธิของเด็กที่คลอดออกมาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิที่จะได้รับการปกป้องคุ้มครอง :baby_chick:
สิทธิที่เด็กได้รับปกป้องคุ้มครองจากการทารุณกรรมทุกรูปแบบ
สิทธิในด้านพัฒนาการ :baby_chick:
เด็ก ทุกคนจะได้รับสิทธิให้มีสภาพความเป็นอยู่ที่เหมาะสมกับพัฒนาการ ร่างกาย จิตใจ สังคม รวมถึงความพึงพอใจและความสุข
สิทธิในการมีส่วนร่วม :baby_chick:
เป็นสิทธิที่ให้ความสาคัญกับการแสดงออกทั้งในด้านความคิดและการกระทำของเด็ก ในการเป็นส่วนหนึ่งของสังคมที่อาศัยอยู่
การอนุญาตให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจในเรื่องต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับตนเองและสามารถแสดงความคิดเห็นโดยไม่กระทบสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลอื่น
ระยะของการเจ็บป่วย:baby_bottle:
ระยะเฉียบพลัน (Acute) :baby_chick:
รุนแรงมากในทันทีทันใดเฉียบพลัน อาจถึงแก่ชีวิตได้
ระยะเรื้อรัง (Chronic) :baby_chick:
เป็นระยะที่รักษาไม่หายขาด บุคคลต้องต่อสู้กับโรคตลอดชีวิต
ต้องเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลบ่อยๆ
มีผลกระทบต่อการปรับตัวของบุคคลและครอบครัวอย่างมาก
ระยะวิกฤต (Crisis) :baby_chick:
เป็นระยะที่มีโอกาสเสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วการดูแลเน้นการรักษา ดูแลประคับประคองทั้งร่างกายจิตใจ ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
ระยะสุดท้าย / ใกล้ตาย (Death / Dying) :baby_chick:
เป็นระยะที่ได้รับการวินิจฉัยการเจ็บป่วยถึงขั้นสูญเสียชีวิต
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความเจ็บป่วยของเด็ก :baby_bottle:
ประเภท 0 : ตอบแบบไม่เข้าใจ
ระดับความคิดความเข้าใจก่อนขั้นปฏิกิริยา(อายุ 18 เดือน – 7 ปี)
ประเภทที่ 1 : ตอบตามปรากฏการณ์
ประเภทที่ 2 : สาเหตุสัมพันธ์กับวัตถุ หรือบุคคลที่อยู่ใกล้ๆ
ระดับความคิดความเข้าใจในขั้นปฏิบัติการด้วยรูปธรรม(อายุ 7-11 ปี)
ประเภทที่ 3 : การปนเปื้อน
ประเภทที่ 4 : ภายในร่างกาย
ระดับปฏิบัติการด้วยนามธรรม(อายุ 11-12 ปี จนถึงวัยผู้ใหญ่ )
ประเภทที่ 5 : ความเจ็บป่วยเกิดจากอวัยวะภายในร่างกายทางานไม่ดี หรือไม่ทeงาน
ประเภทที่ 6 : เข้าใจถึงสาเหตุของความเจ็บป่วยที่พัฒนาถึงขึ้นสูงสุด
ความเข้าใจของเด็กเกี่ยวกับความตาย :baby_bottle:
วัยแรกเกิดและวัยทารก :baby_chick:
อายุ > 6 เดือน ผูกพันกับผู้เลี้ยงดู รู้สึกแยกจาก
อายุ < 6 เดือน ไม่เข้าใจความหมาย ไม่มีความหมาย
physiological reflex เพื่อต่อสู้ให้ตนเองมีชีวิตรอด
ทารกจะเชื่อมโยงกับคนรอบข้างโดยผ่านทางการสัมผัส กลิ่น เสียง จะร้องเมื่อหิว เจ็บ หรือมีอาการไม่สุขสบายต่างๆ เกิดขึ้นในร่างกาย
หากเด็กอยู่ในระยะสุดท้ายของชีวิต พ่อ แม่ ตลอดจนบุคลากรทีมการดูแล ควรช่วยให้เด็กผ่านช่วงเวลาของความตายโดยไม่ทุกข์ทรมาน ไม่ปล่อยให้เด็กเผชิญความตายเพียงลำพัง
วัยเดินและวัยก่อนเรียน :baby_chick:
คิดว่าตายแล้วสามารถกลับคืนมาได้(Reversible) เหมือนการไปเที่ยวชั่วคราว
การพัฒนาความเข้าใจเกี่ยวกับความตายในเด็กวัยอนุบาล เป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นอย่างค่อยเป็นค่อยไป
ความตายเปรียบเหมือนการนอนหลับ ทาให้เด็กบางคนกลัวการนอน กลัวว่าหลับแล้วอาจจะตายแล้วไม่ตื่นอีกเลย
เด็กวัยนี้บางคนอาจเข้าใจความตายเป็นจุดสุดท้ายของชีวิตเกือบสมบูรณ์ โดยเฉพาะเด็กที่เคยเผชิญการตายของสัตว์เลี้ยงหรือผู้ใหญ่
วัยเรียน :baby_chick:
เข้าใจความหมายของความตาย เรียนรู้ว่าตายแล้วจะกลับคืนมาอีกไม่ได้ เข้าใจเรื่องของเวลา อดีต ปัจจุบัน และอนาคต
เรียนรู้ และ สามารถจินตนาการเรื่องความตาย และเข้าใจได้ว่าตัวเองก็อาจจะตายในวันหนึ่ง
สามารถเข้าใจเรื่องโรค การวินิจฉัย และการพยากรณ์โรคได้
สนใจพิธีการในงานศพ กลัวการสูญเสียตนเองและบุคคลอันเป็นที่รัก
เป็นวัยที่ยังมองความตายเป็นเรื่องที่ไกลตนเอง ยอมรับความตายของตนเองยากที่สุดเหมือนการลงโทษ กา
พ่อแม่ หรือผู้ดูแล ควรให้ความรัก ความอบอุ่น เอาใจใส่ ตอบสนองความต้องการแม้ว่าเด็กไม่ได้ร้องขอ โดยเฉพาะในช่วงลมหายใจสุดท้ายที่ใกล้จะมาถึง จะทาให้เด็กวัยรุ่นยอมรับการดูแลนั้นๆ ได้โดยไม่รู้สึกเสียศักดิ์ศรีความเป็นตัวของตัวเอง
เด็กป่วยกับการเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล :baby_bottle:
ความเครียดกับการปรับตัว :baby_chick:
พัฒนาการตามวัยของเด็ก
ประสบการณ์เดิมของเด็กที่เคยเผชิญในการเจ็บป่วยครั้งก่อน
ความสามารถของเด็กต่อการปรับตัวในการเผชิญความเครียด
ความรุนแรงของความเจ็บป่วย
ระบบการดูแลและการช่วยเหลือเด็ก
ผลกระทบของความเจ็บป่วยของเด็กแต่ละช่วงวัย
วัยทารก :baby_chick:
กินได้น้อยลง ถูกจากัดกิจกรรม เจ็บปวด
การเจ็บป่วยที่ทาให้ร่างกายพิการที่มองเห็นเด่นชัดตั้งแต่เกิดจะมีผลกระทบต่อความผูกพันระหว่างมารดาและทารก
เด็กต้องอยู่โรงพยาบาลมารดาจึงไม่มีโอกาสโอบอุ้มเลี้ยงดูบุตร เด็กก็จะขาดการกระตุ้นประสาทสัมผัสจากมารดา อาจส่งต่อพัฒนาการของเด็กได้
วัยเดิน :baby_chick:
เป็นวัยที่อิสระ อยากรู้อยากเห็น
ยังไม่เคยแยกจากบิดา มารดา หรือผู้เลี้ยงดู
การเจ็บป่วยเฉียบพลัน เรื้อรังอาจทาให้ต้องพรากจากบิดามารดาซ้าแล้วซ้าอีก อาจทาให้เด็กคิดว่าบิดามารดาทอดทิ้งเขาไปได้
วัยก่อนเรียน :baby_chick:
เด็กที่ป่วยบ่อยหรือเจ็บป่วยเรื้อรังจะ มีความยากลำบากในการเรียนรู้
ด็กจะคิดว่าความเจ็บป่วยและการต้องอยู่ในโรงพยาบาลเป็นการถูกลงโทษเนื่องจากตนเองคิดหรือทาในสิ่งที่ไม่ดีมากที่สุด
วัยเรียน :baby_chick:
เด็กวัยนี้จะเป็นวัยที่มุ่งมั่นต่อผลสาเร็จ มีการสังคมนอกบ้าน ในกลุ่มเพื่อนที่โรงเรียน
เด็กที่เจ็บป่วยโดยเฉพาะการเจ็บป่วยเรื้อรังทาให้หย่อนความสามารถเรื่องการเรียน การเล่นกีฬา และการที่จะทาอะไรได้เช่นเดียวกับเพื่อนกลุ่มเดียวกัน
ให้รู้สึกสูญเสียการนับถือตนเอง รู้สึกมีปมด้อย และถูกปฏิเสธจากกลุ่ม
วัยรุ่น :baby_chick:
มีการค้นหาเอกลักษณ์ความเป็นตัวของตัวเอง มีความเป็นอิสระ
เด็กที่เจ็บป่วยบ่อย จะมีผลกระทบต่อ ความเชื่อมั่นในตนเอง ภาพลักษณ์ บุคลลิกภาพ
ปฏิกิริยาของเด็กต่อการเจ็บป่วย:baby_bottle:
separation anxiety
body injury and pain
loss of control
body image
ความตาย
ปฏิกิริยาของบิดามารดาต่อการเจ็บป่วยของเด็ก:baby_bottle:
การปฏิเสธ และไม่เชื่อ ในระยะแรก
ความรู้สึกโกรธและโทษตัวเอง เมื่อรู้แน่ชัดว่าเด็กป่วยจริง
ความรู้สึกกลัว และวิตกกังวล มักจะมีความสัมพันธ์กับอาการรุนแรงของโรคที่เด็ก
ความรู้สึกหงุดหงิด คับข้องใจ และการขาดอานาจต่อรอง
ความรู้สึกเศร้า
การพยาบาลเด็กแต่ละระยะของการเจ็บป่วย :baby_bottle:
การพยาบาลเด็กระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ :baby_chick:
Separation anxiety
ระยะประท้วง (protest)
เด็กจะร้องไห้อย่างรุนแรงมาก ร้องตลอดเวลาจะหยุดร้องเฉพาะเวลานอนเท่านั้น
เมื่อมารดามาเยี่ยมแด็กจะประท้วงมากขึ้น ร้องไห้มากขึ้น
เด็กพยายามที่จะให้มารดาอยู่ด้วย การร้องไห้ประท้วงรุนแรงมากขึ้นเมื่อมารดาจะจากไป
ระยะสิ้นหวัง(despair)
ความสิ้นหวังแสดงออกโดย อาการโศกเศร้าเสียใจอย่างลึกซึ้ง
มีพฤติกรรมที่ถดถอย(regression)
ระยะนี้เด็กจะยอมร่วมมือในการรักษาที่เจ็บปวด ต่อต้านเพียงเล็กน้อยยอมกินอาหาร ทำให้เข้าใจผิดคิดว่าเด็กปรับตัวได้ เมื่อมารดามาเยี่ยม
เมื่อมารดาไม่อยู่เด็กจะมีพฤติกรรมดีกว่า ไม่ส่งเสริมให้มารดามาเยี่ยม ซึ่งเป็นการปฏิบัติที่ผิด
ระยะปฏิเสธ(denial)
ถ้าเด็กป่วยต้องอยู่โรงพยาบาลเป็นเวลานานวันและได้รับการพยาบาลจากพยาบาล
ระยะนี้เด็กจะหันกลับมาสนใจสิ่งแวดล้อมรอบตัว เหมือนกับว่าเด็กปรับตัวได้ แต่เด็กเพียงเก็บกดความรู้สึกที่มีต่อมารดาไว้
จะหันไปสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาลหลายๆ คน แต่หลีกเลี่ยงที่จะไปใกล้ชิดกับใครคนใดคนหนึ่ง ไม่กล้าเสี่ยงที่จะใกล้ชิดและไว้วางใจบิดามารดาอีกต่อไป
Pain management
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยา
การประเมินจากการเปลี่ยนแปลงทางพฤติกรรม
การประเมินความเจ็บปวดด้วยตนเอง
เครื่องมือที่ใช้ประเมินpainในเด็ก
คำถาม
ความรุนแรงของความปวด
ตำแหน่งที่ปวด
ลักษณะการเจ็บปวด: เจ็บ ปวด แสบ ปวดแสบ ปวดร้อน
ผลกระทบต่อความปวด :หงุดหงิด ก้าวร้าว นอนไม่หลับ
ปัจจัยที่ทาให้ปวดมากขึ้น ลดลง
เครื่องมือ
CRIES Pain Scale
Neonatal Infants Pain Scale (NIPS)
CHEOPS (Children’s Hospital of Eastern Ontario Pain Scale )
ใช้กับเด็ก 1-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 4-13
4 = ไม่ปวด
5-7 = ปวดน้อย
8-10 = ปวดปานกลาง
11-13 = ปวดมาก
FLACC Scale (Face ; Legs ; Activity ; Cry ; Consolability Scale)
ใช้กับเด็ก 1เดือน-6 ปี หรือไม่รู้สึกตัว
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
Faces scale
เริ่มตั้งแต่ไม่ปวดแทนด้วยภาพสีหน้ายิ้มร่ามีความสุข ปวดพอทนแทนด้วยภาพหน้านิ่วคิ้วขมวดจนถึง ปวดมากที่สุด แทนด้วยภาพใบหน้าที่มีน้าตาไหลพราก
นิยมใช้ในผู้ป่วยเด็กเล็กคนชราหรือคนที่ไม่สามารถสื่อสารได้ด้วยคาพูด
แทนค่าเป็นคะแนนตามที่กากับไว้ใต้ภาพ 0-10
Numeric rating scales
คะแนนอยู่ระหว่าง 0-10
0 = ไม่ปวด
1-3 = ปวดน้อย
4-6 = ปวดปานกลาง
7-10 = ปวดมาก
ใช้ได้ตั้งแต่เด็กวัยเรียนขึ้นไป ซักถามถ้าไม่ปวดเลย ให้ 0 ปวดมากที่สุดให้ 10 ขณะนี้ปวดเท่าใด
หลักการประเมินความปวด
ประเมินก่อนให้การพยาบาล เพื่อเป็นสมมติฐาน และหลังให้การพยาบาล เพื่อประเมินผล
ควรประเมินอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง โดยประเมินทั้งขณะพักและขณะทeกิจกรรม
เลือกวิธีที่เหมาะสมกับผู้ป่วยแต่ละราย และควรใช้วิธีเดียวกันตลอดการให้การพยาบาลนั้นๆ
เด็กเล็ก, ผู้สูงอายุ, ผู้ที่มีการรับรู้บกพร่อง หรือไม่สามารถสื่อสารได้ ควรดูแลเป็นพิเศษ เนื่องจากการประเมินอาจได้ข้อมูลไม่ครอบคลุมหรือไม่ถูกต้องทั้งหมด
มีการบันทึกเป็นหลักฐาน
หลีกเลี่ยงคeถามนาอันเป็นเหตุให้บดบังข้อเท็จจริง หรือคeถามที่กระตุ้นให้เกิดอารมณ์เศร้าเสียใจ
Critical care concept
Stress and coping
การพยาบาลเด็กระยะเรื้อรังและระยะสุดท้าย :baby_chick:
Body image
Death and dying
แนวคิดและหลักการพยาบาลใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง :baby_bottle:
(Respect) เคารพและยอมรับในความแตกตางทางวัฒนธรรม ความเป็นบุคคล ค่านิยม ความเชื่อ ความมีอิสระ ทางความคิดและการกระทำ การตัดสินใจ
เคารพและตระหนักว่าครอบครัวคือส่วนคงที่ในชีวิตเด็ก ในขณะที่บุคลากรด้านสุขภาพและระบบบริการสุขภาพมีการเปลี่ยนแปลง
ให้ความสาคัญกับการตัดสินใจของสมาชิกในครอบครัว และ ช่วยเหลือครอบครัวในการตัดสินใจในการดูแลเด็ก
ให้ความสาคัญกับสิ่งที่ครอบครัวกังวลหรือเห็นว่าสาคัญ
สนับสนุนครอบครัวให้ทาหน้าที่ผู้ดูแลเด็กขณะเจ็บป่วยใน โรงพยาบาล
ร่วมกับครอบครัวในการค้นหาทางเลือกต่างๆ ในการดูแลต่างๆ
สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือระหว่างบิดามารดากับทีมสุขภาพในทุกระดับของการบริการดูแลสุขภาพทั้งที่โรงพยาบาล บ้าน และชุมชน
มีการสื่อสารในทางที่ดี เปิดเผย และต่อเนื่อง
ให้เกียรติซึ่งกันและกัน และให้ความไว้วางใจ
สื่อสารทาความเข้าใจถึงบทบาท และความคาดหวังของกันและกัน
วางแผนการดูแลรักษา และตัดสินใจร่วมกัน
มีการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารที่จาเป็นและสมบูรณ์แก่บิดามารดาอย่างต่อเนื่อง และไม่ลาเอียงด้วยท่าทีที่เหมาะสมในลักษณะของการสนับสนุน
อธิบายคาศัพท์ทางการแพทย์ให้ครอบครัวให้เข้าใจ
ให้ข้อมูลบิดามารดาทั้งทางวาจาและลายลักษณ์อักษร
อธิบายเป้าหมายและเหตุผลของการพยาบาล
ตอบข้อสงสัยของบิดามารดา
เข้าใจและผสานความต้องการตามระยะพัฒนาการ ของ บุคคลและ ครอบครัวเข้าในระบบบริการสุขภาพ
ลงมือปฏิบัติสนับสนุนและช่วยเหลือครอบครัวที่มีปัญหาทางด้านอารมณ์และเศรษฐกิจ เช่น ส่งปรึกษา สงคมสงเคราะห์เรื่องเงิน ส่งหน่วยปรึกษาเมื่อเกิดปัญหา การปรับตัวหรือความคับข้องใจ
ยอมรับว่าครอบครัวมีจุดแข็ง และมีลักษณะเฉพาะ รวมทั้งเคารพวิธีการเผชิญปัญหาที่แตกต่างกัน
ประเมินจุดแข็ง และมีวิธีการเผชิญปัญหาของครอบครัว
เปิดใจรับฟังความคิดเห็นของครอบครัว ค่านิยม ความ เชื่อและการตัดสินใจของครอบครัว
เสริมสร้างพลังอานาจ (Empowerment) ของ ครอบครัว โดยเริ่มจากจุดแข็งที่ครอบครัวมีอยู่
เคารพยอมรับในความหลากหลายของเชื้อชาติวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ และสังคม เศรษฐกิจของ ครอบครัว
กระตุ้นและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายผู้ปกครอง
ให้คุณค่า ความสาคัญของการช่วยเหลือระหว่าง ครอบครัว
สนับสนุนความร่วมมือของเครือข่ายระหว่างกลุ่มแพทย์และเครือข่ายผู้ปกครอง
ส่งต่อครอบครัวไปยังเครือข่ายผู้ปกครอง
จัดบริการให้มีความความยืดหยุ่น เข้าถึงได้และ ตอบสนองความต้องการของครอบครัว
จัดหาวิธีการและทางเลือกของการรักษาให้กับบิดามารดา
สนับสนุน/กระตุ้นให้เกิดการดูแลแบบสหสาขา เพื่อ แลกเปลี่ยนข้อมูลที่สาคัญเกี่ยวกับการดูแลเด็กกับวิชาชีพอื่น
Preparation for Hospitalization and Medical Procedures :baby_bottle:
Preparing Infants :baby_chick:
Separation from parents (กลัวการแยกจาก)
Seeing strange sights, sounds, smells ไวต่อการสัมผัส/น้ำเสียง
Keep routines
Preparing Toddlers/Preschoolers :baby_chick:
Being left alone
Loss of comforts of home, family
seperate anxiety (กลัวสถานที่ กลัวแยกจากพ่อแม่) :baby_chick:
อาจให้พ่อแม่เข้าไปอยู่ด้วย เป็นกำลังใจ
ระยะ
protest (ระยะต่อต้าน ร้องดิ้น ไม่ให้ความร่วมมือในการรักษา)
despair ยอมจำนน
denial เริ่มสนใจคนรอบข้าง
Simple explanations อธิบายด้วยผ่านการเล่านิทาน
Tell the truth
Stay with child during hospitalization
Preparing School Age :baby_chick:
มักคิดว่าเข้า รพ.เพราะถูกทำโทษ (loss of control)
ให้เด็กได้ทราบความจริง/ให้ทางเลือก /ให้เพื่อนๆมาเยี่ยม
Preparing Teenager :baby_chick:
สูญเสียภาพลักษณ์ (Body Image)สูญเสียการควบคุม
กลัวประสบการณ์ซ้ำเดิม
การให้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจ/ครอบครัว
นางสาวอภิสรา นำเจริญลาภ รุ่น 36/2 เลขที่ 56
612001137 :four_leaf_clover:
แหล่งอ้างอิงเพิ่มเติม :red_flag:
กาญจนา กันทาหงษ์. (2015). เด็กป่วยเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล. Nursing Journal, 42(3), 1-12.
กชกร เพียซ้าย.(2556).เอกสารประกอบการสอน การพยาบาลเด็กและวัยรุ่น 1 (Nursing of Children and Adolescent 1).สาขาวิชาการพยาบาลเด็กและวัยรุ่น.สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
กัญญา ศุภปีติพร. (2559). Pediatric practice: Individualized patient care in 2016. กรุงเทพฯ: ภาควิชากุมารเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จอห์น, เพียรซ์. (2552). พัฒนาการของทารกและเด็ก (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา. (2552). การพยาบาลเด็ก เล่ม 2 (พิมพ์ครั้งที่ 7). นนทบุรี: โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก.
พรทิพย์ ศิริบูรณ์พิพัฒนา. (2552). การพยาบาลเด็ก เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 7). นนทบรี: โครงการสวัสดิการวิชาการสถาบันพระบรมราชชนก.
Cammarata, C., Bujoreanu, S., & Wohlheiter, K. (2020). Hospitalization and Its Impact: Stressors Associated with Inpatient Hospitalization for the Child and Family. In Clinical Handbook of Psychological Consultation in Pediatric Medical Settings (pp. 37-49). Springer, Cham.
Gramszlo, C., Karpyn, A., Demianczyk, A. C., Shillingford, A., Riegel, E., Kazak, A. E., & Sood, E. (2020). Parent Perspectives on Family-Based Psychosocial Interventions for Congenital Heart Disease. The Journal of pediatrics, 216, 51-57.
Liu, S. Y., & Lim, S. (2020). Collective Trauma and Mental Health Hospitalization Rates Among Children in New York State, 1999–2013: Age, Period, and Cohort Effects. Journal of Traumatic Stress.
:airplane: