Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งในเด็ก - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยโรคมะเร็งในเด็ก
มะเร็งเม็ดเลือดขาว (Leukemia)
คือ การแบ่งตัวของเม็ดเลือดขาวผิดปกติ ทำให้มีเม็ดเลือดขาวมาก แต่เป็นตัวอ่อนที่เจริญไม่เต็มที่ ทำให้สูญเสียการทำหน้าที่
สาเหตุ ไม่ทราบแน่ชัด อาจมีสาเหตุจากสิ่งแวดล้อม เช่น สารเคมี รังสี ยา การติดเชื้อ กรรมพันธุ์
ชนิด
Acute Lymphoblastic Leukemia
Acute NonLymphoblastic Leukemia
อาการแสดง
ซีด อ่อนเพลีย พบจุดจ้ำเลือด ติดเชื้อง่าย
การรักษา
1.แบบจำเพาะ ทำลายเซลล์มะเร็งโดยตรงโดยใช้เคมีบำบัดและรังสีรักษา
2.แบบประคับประคอง คือ การรักษาตามอาการของผู้ป่วย
มะเร็งของไต (Wilm’s Tumor,Nephroblastoma)
ภาวะที่เนื้อไตชั้น พาเรนไคมา มีการเจริญเติบโตผิดปกติจนกลายเป็น เนื้องอกภายในเนื้อไต มีขนาดใหญ่จนคลำได้ทางหน้าท้อง
อาการแสดง
คลำพบก้อนในท้อง มีขอบเขตชดเจน
เจ็บปวดในช่องท้อง อาจมีปัสสาวะเป็นเลือด
มีไข้เบื่ออาหาร อ่อนเพลีย
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
คลำพบก้อนในท้อง
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจปัสสาวะพบเม็ดเลือดแดง
ตรวจเลอด พบระดับHct ต่ำ
การตรวจพิเศษ
Computer Transverse Tomography
Intravenous Pyelogram
การรักษา
การผ่าตัด ทุกรายต้องทำการผ่าตัดเอาไตข้างที่ทีพยาธิสภาพออก ยกเว้นรายที่ก้อนโตมาก อาจใช้การฉายรังสีร่วมกับใช้ยา
รังสีรักษา เริ่มทำได้เมื่อภายหลังตัดไตและลำไส้ทำงานปกติ
เคมีบำบัด นิยมให้ทุกราย และใช้ 2 ชนิดร่วมกัน คือ Actinomycim D และ Vincristine ประมาณ 6-15 เดือน
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง (Lymphoma)
เนื้องอกของระบบน้ำเหลืองในร่างกาย (Lyphoma system)
แบ่งเป็น
1.Hodgkin’s Lymphoma (HL)
เกิดจากเซลล์ Reed-sternberg cell
ระยะ 1
เกิดขึ้นต่อมน้ำเหลืองเพียงต่อมเดียวหรือกลุ่มเดียว อาจมีความผิดปกติที่อื่นร่วมด้วยเพียงแห่งเดียว
ระยะ 2
เกิดขึ้นกับต่อมน้ำเหลืองตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป แต่ยังอยู่ในกระบังลมด้านเดียวกัน
ระยะ 3
เกิดขึ้นกับต่อมน้ำเหลืองตั้งแต่ 2 กลุ่มขึ้นไป และอาจเป็นที่อวัยวะอื่นนอกต่อมน้ำเหลืองอีก 1 แห่ง
ระยะ 4
มีการแพร่กระจายทั่วร่างกาย อาจะมีต่อมน้ำเหลืงโตหรือไม่ก็ได้
อาการ
ต่อมน้ำเหลืองโต ไม่เจ็บปวด
การรักษา
การฉายรังสี อยู่ในระยะที่ 1 กับ 2
การใช้เคมีบำบัด เริ่มใช้ตั้งแต่ระยะที่ 3 อาจใช้ยาเสริมบางตัว แต่ระยะที่4 จะให้ทุกตัวเป็นชุดเรียกว่า MOPP หรือชุด ABVD
ระยะที่ 3 หรือ 4 อาจทำการผ่าตัดหน้าท้อง เพื่อตัดม้ามออก และให้ยาเคมีหรือฉายแสงต่อไป
2.Non-Hodgkon’s Lymphoma (NHL)
เกิดจากความผิดปกติของการแบ่งตัว ของทั้ง B-Lymphocyte และ T- Lymphocyte ไม่พบ Reed-Sternberg cell
แบ่งเป็น 2 ชนิด
ชนิดค่อยเป็นค่อยไป (Indolet)
2.ชนิดรุนแรง (Aggressive)
แบ่งระยะได้ 4 ระยะ
ระยะ 1
ระยะ 2
ระยะ 3
ก้อนเนื้อ 2 ตำแหน่งหรือมากกว่า อยู่เหนือหรือใต้กระบังลม
ระยะ 4
แพร่กระจายไปในระบบประสาท หรือกระดูกไขสันหลัง
อาการ
พบก้อนบริเวณต่อมน้ำเหลืองต่างๆของร่างกาย มักไม่เจ็บต่างจากการติดเชื้อที่มักมีอาการเจ็บที่ก้อน
การรักษา
การให้ยาเคมี
การฉายรังสี เป็นรังสีขนาดสูง
การปลูกถ่ายเซลล์ต้นกำเนิด
3.Burkitt's Lymphoma
เป็นโรคในกลุ่ม Non-Hodgkin's lymphoma มีจุดกำเนิดจาก B lymphocyte เชื่อว่าโรคนี้มมีสาเหตุมาจาก Epstein-Barr Virus
มะเร็งจอตา (Retinoblastoma)
เกิดจาก Nuclear Layer ของ Retina ซึ่งเป็น Neuronal Tissue สามารถถ่ายทอดทางพันุธกรรมแบบ Autosomal Dominant
อาการ
Amaturotic Cat' s Eye ตาวาวเหมือนตาแมวในเวลากลางคืน
Squint ตาเหล่
ปวดตา ตาแดง
Glaucoma ต้อหิน
การวิฉัยที่สำคัญ
Opthalmoscopy และอาศัยประวัติร่วมด้วยมักจะวินิจฉัยได้ถูกต้องถึง 100% โดยไม่ต้องทำ Biopsy เนื่องจากการทำ Biopsy จะทำให้มีการกระจาย ของ Tumor ได้
การรักษา
การจี้ความเย็นหรือการใช้เลเซอร์เพื่อทำลายเซลล์มะเร็ง ร่วมกับการให้ยาเคมีบำบัดทางหลอดเลือดดำทุกๆ 3 ถึง 4 สปดาห์ ซึ่งทำในรายที่ก้อนมีขนาดเล็กและผู้ป่วยยังมีความสามารถในหารมองเห็น
ภาวะแทรกซ้อน
จอตาฉีกขาด จากการรักษาเฉพาะที่
ติดเชื้อ จากภาวะเม็ดเลิอดแดงต่ำจากยาเคมีบำบัด
สูญเสียการมองเห็น
โรคลุกลามออกมานอกลูกตา รักษาโดยการเอาลูกตาออก และใส่ตาเทียม
Rhabdomyosarcoma
เกิดจากเซลล์ซึ่งคล้าย กล้ามเนื่อ(striated muscle) แต่กลับพบในบริเวณที่ไม่ควรมีกล้ามเนื้อลาย เช่น กระเพาะปัสสาวะ
การรักษา
การรักษา combined modalities คือ การผ่าตัด รังสีรักษา และเคมีบำบัดร่วมกัน
เ
นื้องอกเซลล์ระบบประสาท (Neuroblastoma)
เนื้องอกชนิดร้ายแรงของเซลล์ประสาทตำแหน่งที่พบมากสุด คือ Adrenal meaulla และ Sympathetic ganglia
อาการ
ขึ้นอยู่กับตำแหน่งและระยะของโรค
ตรวจร่างกายจะพบคลำก้อนในช่องท้อง
ก้อนอาจไปกดไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ
ทำให้เกิดการคั่งของปัสสาวะ
บางรายอาจมีระดับ Catecholamine สูง
การวินิจฉัย
IVP จะพบว่าไตมีขนาดและรูปร่างผิดปกติ
ถ่ายภาพรังสีช่องท้อง อาจพบก้อนเงาๆข้องกระดูกสันหลัง
ตรวจปัสสาวะ พบ Catecholamine อยู๋ในรูปของ VMA ในระดับสูง
การรักษา
การผ่าตัดเอาเนื้อร้ายออกให้มากที่สุด
การให้ยาเคมีบำบัด
มะเร็งกระดูก
เกิดกับกระดูกทุกชิ้นที่พบบ่อย คือ กระดูกต้นขา กระดูกแข้ง กระดูกซี่โครง และกระดูกเชิงกราน
อาการสำคัญ
คลำพบก้อนเนื้อบนตำแหน่งที่เป็นโรค
ก้อนเนื้อโตเร็ว เจ็บกระดูกหรือกระดูกหักส่วนที่เกิดโรค
การวินิจฉัยที่สำคัญ
การตัดชิ้นเนื้อจากก้อนเนื้อไปตรวจทางพยาธิวิทยา
ระยะ
โรคยังอยู่เฉพาะที่ แต่ลุกลามมาก
โรคแพร่กระจายเข้าต่อมน้ำเหลือง หรือทางกระแสโลหิต
1.โรคยังอยู่เฉพาะจุด ยังไม่ลุกลามหรือลุกลามน้อย
การรักษา
การผ่าตัดและยาเคมีบำบัด
รังสีรักษา ใช้เมื่อมีข้อบ่งชี้ชัดเจน