Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
pngtree-stock-market-analysis-the-study-banner-image_13562 หน่วยที่ 9 …
หน่วยที่ 9
สถิติอนุมานสำหรับการวิจัยทางส่งเสริม
และพัฒนาการเกษตร
การทดสอบโดยใช้ไคสแควร์
การทดสอบความเป็นอิสระ
เป็นการทดสอบเพื่อให้ทราบว่าตัวแปรเป็นอิสระกัน
หรือมีความสัมพันธ์กัน
หากค่าสังเกตและค่าคาดหวังใกล้เคียงกัน ตัวแปรทั้งสองเปฺ็นอิสระกัน
หากค่าสังเกตและค่าคาดหวังแตกต่างกันมาก ตัวแปรมีความสัมพันธ์กัน
การทดสอบสัดส่วน
เป็นการทดสอบเกี่ยวกับความแตกต่างระหว่าง
สัดส่วนของประชากร
ตัวแปรที่ต้องการทดสอบจะจำแนกออกเป็นสองลักษณะ
หรือมากกว่าได้
การทดสอบความแตกต่าง
การทดสอบค่าเฉลี่ยของประชากรเดียว
การทดสอบสมมติฐานสองข้าง
การทดสอบสมมติฐานทางเดียว
การทดสอบผลต่างของค่าเฉลี่ยของสองประชากร
การทดสอบค่าเฉลี่ยของสองประชากร
เมื่อตัวอย่างเป็นอิสระกัน
การทดสอบค่าเฉลี่ยของสองประชากร
เมื่อตัวอย่างมีความสัมพันธ์กัน
การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์การถดถอยอย่างง่าย
เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ของตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระ 1 ตัว
เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าตัวแปรทั้งสอง
มีความสัมพันธ์กัน
การวิเคราะห์การถดถอยพหุ
เป็นการวิเคราะห์ความสัมพันธ์
ของตัวแปรอิสระตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป
เพื่อให้เกิดความเชื่อมั่นว่าตัวแปร
มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญ
แนวคิดเกี่ยวกับ
การวิเคราะห์การถดถอย
การวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของตัวแปรโดยวิธีการวิเคราะห์
การถดถอยเป็นการวัดความสัมพันธ์
ของตัวแปรตามกับตัวแปรอิสระ
การวัดความสัมพันธ์โดยสหสัมพันธ์
สหสัมพันธ์อย่างง่าย
เป็นการวัดความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว
ทำโดยการคำนวณหาค่าสัมประสิทธิ์
สหสัมพันธ์อย่างง่ายและค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ
สหสัมพันธ์เชิงส่วน
เป็นการหาความสัมพันธ์ของตัวแปรสองตัว
โดยไม่สนใจตัวแปรอื่น
ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เชิงส่วนมีค่าได้ตั้งแต่ + 1 ถึง -1
แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของตัวแปร
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ของตัวแปรในการวิจัยทางส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรมีหลายวิธี
และให้ผลลัพธืไม่แตกต่างกัน
:silhouette: นางสาววิไลลักษณ์ ลำดวน
รหัส 2629001815 วิชา 91723