Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor) - Coggle Diagram
การคลอดเฉียบพลัน
(Precipitate labor)
อุบัติการณ์
ร้อยละ2ของการคลอด
ร้อยละ93ของผู้คลอดกลุ่มนี้จะผ่านการคลอดมาแล้ว
อาการและอาการแสดง
มีอาการเจ็บครรภ์เป็นอย่างมาก
มดลูกมีการหดรัดตัวถี่และรุนแรง>5/min
PVพบปากมดลูกมีการเปิดขยายเร็ว
ครรภ์แรก5ซม./ชม.
ครรภ์หลัง10ซม.หรือ>10ซม./ชม.
การรักษา
ให้การดูแลตามอาการ
การให้ยา
รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกควรหยุด
ให้ยาช่วยยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
รายที่มีการคลอดเฉียบพลัน ให้ATB หลังคลอด
ให้ยา methergin เพื่อป้องกันการตกเลือด
การผ่าตัด
มีภาวะแทรกซ้อนจากภาวะมดลูกแตก(uterine rupture)
น้ำคร่ำอุดตันในกระแสเลือดผู้คลอด
(amniotic fluid embolism)
การพยาบาล
มารดาที่มีประวัติการคลอดเร็ว
ประเมินและบันทึกการหดรัดตัวของมดลูก และฟังFHS ทุก 30 นาที
ประเมินการเปิดขยาย แฃะความบางของปากมดลูกเมื่อมารดาอยากเบ่ง
พิจารณาย้านมารดาเข้าห้องคลอด เมื่อปากมดลูกเปิด5ซม.
ให้การดูแลตามอาการ
กระตุ้นให้มารดาใช้เทคนิคการหายใจตื้นเร็วเบา
เพื่อควบคุมไม่ให้มารดาเบ่งเร็ว
ใช้ผ้าสะอากกดบริเวณฝีเย็บ ใช้มือกดศีรษะทารกให้ก้มลง
เพื่อป้องกันการฉีกขาดของฝีเย็บและอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
จับให้ทารกนอนศีรษะต่ำ ตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง และดูดน้ำคร่ำในปากและจมูก เพื่อป้องกันทารกสำลักน้ำคร่ำ
หลังคลอดดูแลอย่างใกล้ชิด เพื่อป้องกันการตกเลือด
แนะนำการรักษาความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
ดูแลให้ได้รับATBตามแผนการรักษา
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
ช่องทางคลอดอ่อนมีโอกาสฉีกขาดมากกว่าผิดปกติ
เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
เจ็บครรภ์มาก เนื่องจากมดลูกหดรัดตัวแรงและถี่มาก
ทารอาจได้รับอันตรายจากการคลอดเฉียบพลัน
อาจเกิดภาวะตกเลือดหลังคลอดจากการคลอดเฉียบพลัน
วิตกกังวล/กลัวอันตรายที่เกิดขึ้น เนื่องจากการคลอดเฉียบพลัน
สาเหตุ
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่ช่องคลอดไม่ดี
การหดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก และกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง เนื้อเยื่อส่วนต่างๆมีการยืดขยายมาก
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลัน
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่ง
ทารกตัวเล็กหรือGAน้อยกว่ากำหนด
ผู้คลอดที่ไวต่อการได้รับยากระตุุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประวัติการคลอดเฉียบพลันในครรภ์ก่อน
ความไวต่อการเร่งคลอด
ลักษณะอาการเจ็บครรภ์
อาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
การตรวจร่างกาย
การตรวจภายใน
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม
ประเมินความวิตกกังวล
ความหวาดกลัว
ความหมาย
การคลอดที่เกิดขึ้นเร็วกว่าปกติ
ใช้เวลาทั้งหมดประมาณ3ชม. หรือประมาณ2-4ชม.
มีการเปิดขยายของปากมดลูก5ซม./ชม.
ผู้คลอดครรภ์แรก(1ซม.ทุก12นาที)
ผู้คลอดครรภ์หลัง1ซม.ทุก6นาที
เป็นผลจากแรงต้านทานของเนื้อเยื่อที่หนทางคลอดไม่ดี
การวินิจฉัย
ระยะเวลาในการเจ็บครรภ์และคลอดน้อยกว่า3ชม.
อัตราการเปืดขยายของมดลูก
ครรภ์แรก>5ซม./ชม.
ครรภ์หลัง10ซม.หรือ>10ซม./ชม.
มีการหดรัดตัวของมดลูกถี่และรุนแรง
หดรัดตัวทุก2นาทีหรือบ่อยกว่านั้น
ความดันภายในโพรงมดลูกประมาณ50-70มม.ปรอท
ภาวะแทรกซ้อน
มารดา
เนื้อเยื่อบริเวณช่องคลอดเกิดการฉีกขาด
มีการติดเชื้อที่แผลฉีกขาด
ตกเลือดหลังคลอด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตัน
มดลูกแตกจากมดลูกหดรัดตัวรุนแรง
เกิดการคั่งของเลือดใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
อาจเกิดมดลูกปลิ้นเนื่องจากความดันในโพรงมดลูกลดลงอย่างรวดเร็ว
ทารก
เลือดออกในสอง เกิดจาดศีรษะทารกกระทบกับแรงต้านของพื้นเชิงกราน
อาจมีความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทก
เพราะการช่วยคลอดไม่ทัน
สายสะดือขาดเนื่องจากสายสะดือสั้นหรือรกยังไม่ลอกตัว
ถ้าคลอดออกมาทั้งถุงน้ำคร่ำ ทารกอาจสำลักน้ำคร่ำได้
ทารกอาจเกิดการติดเชื้อเนื่องจากไม่ได้เตรียมทำความสะอาดก่อนคลอด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ถ้าให้การช่วยเหลือช้า ทารกอาจเกิดภาวะหนาวสั่น