Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทบทวนวรรณกรรมและการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย - Coggle Diagram
การทบทวนวรรณกรรมและการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
ความหมายและความสำคัญ
เพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย
เพื่อแสดงถึงวิวัฒนาการเกี่ยวกับความรู้ของเรื่องที่ทำการวิจัย
เพื่อเลือกและกำหนดปัญหาการวิจัย
ทำให้เกิดแนวคิดในการเลือกปัญหาและหัวข้อการวิจัย
จุดมุ่งหมายของการทบทวนวรรณกรรม
มีความรอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ
การเตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย
รวบรวมแนวความคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย
เป็นการประเมินความเป็นไปได้ในการวิจัย
เพื่อรวบรวมข้อมูลรายละเอียดในเรื่องวิธีการ และเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เพื่อให้เกิดความไว้วางใจในการเปรียบเทียบวิเคราะห์และแปลความหมายงานวิจัยที่คล้ายคลึงกัน
หลักเกณฑ์สำคัญในการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรม
มีความต่อเนื่องและมีลำดับ
มีการวางแผนที่ดี
มีหลักยึดในการเขียนอ้างอิง
วิธีการนำเสนอที่ดี
สาระของการนำเสนอ
เกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยที่ทำ
เป็นการทบทวน
ขั้นตอนการกำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
กำหนดข้อมูลและแหล่งข้อมูล
กำหนดประเด็นปัญหาที่อยากทราบ
ทำความเข้าใจชื่อเรื่องการวิจัย
กำหนดประเด็นปัญหาหลัก
กำหนดตัวแปร
ประโยชน์ของการเขียนกรอบแนวคิดในการวิจัย
ชี้ให้เห็นถึงแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล ว่าควรวิเคราะห์แบบใด
เกี่ยวข้องโดยตรงกับการออกแบบการวิจัย ตัวแปรตามและอิสระ
ชี้ให้เห็นทิศทางการวิจัย ประเภทและความสัมพันธ์ตัวแปร
ความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัย
นำมาประมวลเป็นความคิดของผู้วิจัยเอง
ได้มากจากการศึกษาทฤษฎี และผลงานวิจัยต่างๆ
ได้มากจากการศึกษาทฤษฎี และผลงานวิจัยต่างๆ
ตัวแปร ความสัมพันธ์ของตัวแปร
ตัวแปรต้น
ตัวแปรตาม
ประมวลความคิดรวบยอดของการวิจัย
ขั้นตอนทบทวนวรรณกรรม
วิธีการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรม
การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
การค้นหาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
อ้างอิง
อ้างอิง : โสภิต สุวรรณเวลา. (2562). การทบทวนวรรณกรรมและการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย การวิจัยทางการพยาบาลฉบับปรับปรุง.
อ้างอิง : ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2557). แนวทางการทบทวนวรรณกรรมสำหรับงานวิทยานิพนธ์ ระดับบัณฑิตศึกษา. วารสารนักบริหาร,34(1),11-22.