Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การทบทวนวรรณกรรมและการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย (Review Literature and…
การทบทวนวรรณกรรมและการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
(Review Literature and Conceptual Framework)
หลักเกณฑ์การทบทวนวรรณกรรม
ครอบคลุมตัวแปรที่จะศึกษามากที่สุด
เกี่ยวข้องกับศาสตร์ทางการพยาบาลหรือศาสตร์สาขาอื่น ๆ
เกี่ยวข้อง ใกล้เคียงกับเรื่องที่กำลังทำวิจัย
พิจารณางานวิทยานิพนธ์หรืองานวิจัยที่ได้เสนอแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเรื่องที่ทำอยู่
ความหมายและความสำคัญ
ของการทบทวนวรรณกรรม
หมายถึงการศึกษาเชิงทฤษฎี หรือผลงานวิจัย หรือรายงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับแนวคิด หรือทฤษฎีในการทำวิจัยจากวารสาร หนังสือ ตำรา เป็นต้น เเละมีการใช้ความสามารถในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์ ให้ได้แนวคิดที่เป็นประโยชน์ในการทำวิจัย
ความสำคัญเปรียบเสมือนกุญแจ
ในการเปิดประตูสู่จักรกลของนักวิจัย
เพื่อแสดงถึงวิวัฒนาการเกี่ยวกับความรู้ของเรื่องที่ทำการวิจัย
เพื่อเป็นพื้นฐานในการสร้างกรอบแนวคิดในการวิจัย
เพื่อเลือกและกำหนดปัญหาการวิจัย
หลักเกณฑ์ในการเขียนผล
การทบทวนวรรณกรรมให้มีคุณภาพ
วิธีการนำเสนอที่ดี
เน้นการเกี่ยวข้องกับปัญหาการวิจัยที่ทำ
มีการวางแผนที่ดี
เป็นการทบทวน (Review) ไม่ใช่จำลอง (Reproduce)
มีความต่อเนื่องและมีลำดับ
มีหลักยึดในการเขียนอ้างอิง
สาระของการนำเสนอผลการทบทวนเอกสาร
ข้อผิดพลาดที่มักพบในการทบทวนวรรณกรรม
นักวิจัยรีบร้อนในการทบทวน
นักวิจัยใช้ข้อมูลทุติยภูมิ
นักวิจัยสนใจเฉพาะสิ่งที่ค้นพบในรายงานวิจัย มองข้ามการวัดหรือวิธีการดำเนินการต่าง ๆ
นักวิจัยมองข้ามแหล่งข่าวสารอื่นๆ
นักวิจัยไม่วางขอบเขตการทบทวนวรรณคดี
นักวิจัยบันทึกแหล่งข้อมูลที่มาของวรรณคดีไม่ถูกต้อง
นักวิจัยต้องจดข้อความในบัตรบันทึกมากเกินไป
ขั้นตอนทบทวนวรรณกรรม
วิธีการเขียนผลการทบทวนวรรณกรรม
การอ่านอย่างพินิจพิเคราะห์
1.การค้นหาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
วิธีการเขียนเอกสารอ้างอิง
ตามแนว APA 6 th
การประเมินเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
**
ขั้นที่ 2 อ่านบทความผ่าน ๆ
ขั้นที่ 3 ทบทวนจุดยืนของผู้ประเมินเอง
ขั้นที่ 1 ระบุจุดประสงค์
ขั้นที่ 4 รวบรวมความรู้ความเข้าใจ
ขั้นที่ 5 ประเมินเอกสาร
จุดมุ่งหมายของการทบทวนวรรณกรรม
การเตรียมกรอบทฤษฎีในการวิจัย
เป็นการประเมินความเป็นไปได้ในการวิจัย
มีความรอบรู้ในข้อเท็จจริงที่เป็นที่ยอมรับ
เพื่อรวบรวมข้อมูลรายละเอียดในเรื่องวิธีการและเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
รวบรวมแนวความคิดในการตั้งปัญหาการวิจัย
เพื่อให้เกิดความไว้วางใจในการเปรียบเทียบ การวิเคราะห์และการแปลความหมาย
การทบทวนวรรณกรรมจะช่วยให้ผู้อ่านคุ้นเคยกับวิธีการศึกษาและข้อมูลต่าง ๆ
หลักในการกำหนด
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ง่ายและไม่สลับซับซ้อน
สอดคล้องกับความสนใจ
ตรงประเด็น
กรอบแนวคิดการวิจัย
(Conceptual framework)
แนวความคิดของผู้วิจัยเกี่ยวกับตัวแปรต่างๆ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรเหล่า
วิธีการการเขียนกรอบแนวคิดการวิจัย
แบบผสมผสาน
เป็นการผสมผสานระหว่างแบบพรรณนากับแบบจำลอง
การพรรณนากับ
แผนภาพ
แผนภาพกับแบบจำลอง
แบบแผนภาพ
แบบจำลอง
ใช้สัญลักษณ์หรือสมการ
แบบพรรณนาความ
2 ตัวแปรเหล่านี้มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตามอย่างไร
3 มีเหตุผลหรือทฤษฎีอะไรมาสนับสนุน
1 ในการวิจัยนี้มีตัวแปรอะไรบ้าง
ขั้นตอนการกำหนด
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ทำความเข้าใจชื่อเรื่องการวิจัย
กำหนดประเด็นปัญหาหลัก
กำหนดตัวแปร
กำหนดข้อมูลและแหล่งข้อมูล
กำหนดประเด็นปัญหาที่ต้องการทราบ
ชื่อเรื่องวิจัย
ประเด็นหลัก
ตัวแปรที่ศึกษา
ข้อมูลและแหล่งข้อมูล
ปัญหาที่ต้องการทราบ
ประโยชน์ของการเขียน
กรอบแนวคิดในการวิจัย
ขั้นตอนการออกแบบการวิจัย
เกี่ยวข้องกับตัวแปรตามและตัวแปรอิสระ ซึ่งตัวแปรต่าง ๆ
ขั้นตอนการวิเคราะห์ข้อมูล
ชี้ให้เห็นถึงแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูล
ขั้นตอนของการเก็บรวบรวมข้อมูล
ชี้ให้เห็นถึงทิศทางของการวิจัย
ความหมายของกรอบแนวคิดการวิจัย
(Meaning of Conceptual framework)**
ทฤษฎี แนวความคิดหรือหลักการที่ใช้อ้างอิง หรือใช้เป็นบรรทัดฐานในการทำวิจัย
อ้างอิง
สาริณี แก้วสว่าง. (2561). การทบทวนและการเขียน วรรณกรรมและงานวิจัยทีเกี่ยวข้อง. สืบค้น วันที่ 21
เดือนพฤษภาคม ปี2563, จาก
http://irem.ddc.uploads/downloads/5a421302bce03.pd
นางสาวกฤษณา ขุนเสร่ รหัสนักศึกษา 612901004