ทฤษฎีจิตวิเคราะห์
สาเหตุ/ปัจจัยที่อธิบายการเกิดโรคตาม ทฤษฎีที่ศึกษา
รูปแบบการรักษา/กิจกรรมการพยาบาล
ที่แสดงถึงการนําทฤษฎีที่ศึกษา มาประยุกต์ใช้
หลักการสำคัญของทฤษฎีที่ศึกษา
การพัฒนาของ Ego ในระดับจิตสำนึกสำคัญมาก บุคคลที่มีสุขภาพจิตที่ดีจะมี Ego เป็นสวนที่เข้มแข็งที่สุด ซึ่งสามารถสร้างสมดุลระหว่าง Id กับ Superego โดยตอบสนองความต้องการของ Id ในขนาดที่ไม่กระทบต่อมาตรฐานของ Superego และคำนึงถึงหลักแห่งความเป็นจริงของสถานการณ์ ในทางตรงข้ามหาก Id เข้มแข็งที่สุดบุคคลก็จะตกเป็นทาสของแรงขับให้
ตอบสนองความต้องการตามสัญชาตญาณ ในขณะที่เมื่อ Superego แข็งแกร่งที่สุด จะทำให้บุคคลกลายเป็นผู้คุมกฎทางศีลธรรม จริยธรรม ชอบตัดสินผู้อื่น ขาดความยืดหยุ่นในการใช้ชีวิต
ทฤษฎีจิตวิเคราะห์ ริเริ่มโดย ซิกมันด์ ฟรอยด์ (Sigmund Freud, 1856-1939) เป็นชาวออสเตรีย เป็นคนแรกที่เห็นความสำคัญของพัฒนาการในวัยเด็ก ถือว่าเป็นรากฐานของ พัฒนาการของบุคลิกภาพ ตอนวัยผู้ใหญ่ สนับสนุนคำกล่าวของนักกวี Wordsworth ที่ว่า "The child is father of the man” และมีความเชื่อว่า 5 ปีแรกของชีวิตมีความสำคัญมาก เป็นระยะวิกฤติของพัฒนาการ ของชีวิตบุคลิกภาพของผู้ใหญ่ มักจะเป็นผลรวมของ 5 ปีแรก ฟรอยด์เชื่อว่า บุคลิกภาพของผู้ใหญ่ ที่แตกต่างกัน ก็เนื่องจากประสบการณ์ของแต่ละคน เมื่อเวลาอยู่ในวัยเด็ก และขึ้นอยู่กับว่าเด็กแต่ละคน แก้ปัญหาของความขัดแย้งของแต่ละวัยอย่างไร ทฤษฎีของฟรอยด์มีอิทธิพลทางการ รักษาคนไข้โรคจิต วิธีการนี้เรียกว่า จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) โดยให้คนไข้ระบายปัญหาให้จิตแพทย์ฟัง
ฟรอยด์ได้ศึกษาและกำหนดแนวคิดของทฤษฎีซึ่งประกอบด้วย 5 แนวคิดหลักคือ
1.ระดับของจิตใจ (Level of the Mind)
- โครงสร้างจิตใจ (Structure of Mind)
- สัญชาตญาณ (Instinct)
- กลไกการป้องกันทางจิต ( Defense mechanism)
- พัฒนาการของบุคลกิภาพ (Psychosexual development)
การบำบัดรักษาพยายามดึงข้อขัดแย้งที่อยู่ในระดับจิตไร้สำนึกขึ้นสู่ระดับจิตสำนัก
Dream interpretation เน้นการให้ผู้ป่วยเล่าความฝัน และผู้รักษาดีความจากความฝัน
Transference เน้นการโอนถ่ายความรู้สึกไปยังบุคคลอื่น
Free-association เน้นการปล่อยให้ผู้ป่วยเกิดความรู้สึกอิสระสบาย และผ่อนคลาย เพื่อให้ผู้ป่วยเล่าเหตุการณ์ที่เป็นปัญหา และความทุกข์ออกมา
เมื่อมนุษย์มีความวิตกกังวลและความเครียดจะหาทางผ่อนคลาย โดย ego หาวิธีลดภาวะไม่พึงปรารถนา โดยเรียกว่า
"กลไกการป้องกันทางจิต''
การป้ายความผิดให้แก่ผู้อื่น (Projection)
การถดถอย (Regression)
การเก็บกด (Repression)
การลงโทษตัวเอง( Introjection)
ในกรณีศึกษา
1.เมื่อผู้ป่วยคิดมากมักจะคิดว่าตนไม่ใช่ลูกของบิดา
2.ผู้ป่วยไม่ยอมรับว่าตนเองเป็นผู้ป่วยทางจิตเวช
3.เมื่อผู้ป่วยมีเรื่องไม่สบายใจจะเก็บไว้คนเดียว
4.เมื่อมีคนถามมักบอกว่าพูดไปก็ไม่มีใครสนใจ
ในกรณีศึกษา
ผู้ป่วยบอกว่าบิดาไม่สนใจ ที่ตนเป็นเช่นนี้เพราะบิดา
ในกรณีศึกษา
ผู้ป่วยการหนีกลับไปอยู่ในสภาพอดีตที่เคยทำให้ตนมีความสุข
ในกรณีศึกษา
ผู่ป่วยมีความรู้สึกว่าบางครั้งอยากประชดทุกๆคน อยากหนีไปให้ไกลๆ
การหาสิ่งมาแทนที่ (Displacement)
ในกรณีศึกษา
ผู้ป่วยรู้สึกหงุดหงิดบิดาแต่ก็ทำอะไรไม่ได้จึงต้องทำร้ายเพื่อนบ้าน
นางสาวจินดาพร สุวรรณเสน
เลขที่ 21 ห้อง 3/1 รหัสนักศึกษา 611501021
click to edit
กิจกรรมการพยาบาล
1.พยาบาลควรต้องทําความเข้าใจกับการใช้ กลไกทางจิตที่ไม่เหมาะสมของผู้ป่วย (maladaptive defensemechanism) ได้อย่างถูกต้อง ช่วยให้ผู้ป่วยเกิดความเข้าใจและยอมรับพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของตน และลดการใช้กลไกทางจิตให้น้อยลง ยอมรับสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขได้
อย่างเหมาะสม ส่งเสริมผู้ป่วยให้มีการปรับตัวที่
เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
3.ส่งเสริมและป้องกันปัญหาทางสุขภาพจิตแก่
ผู้ป่วย ครอบครัวและชุมชน โดยการใช้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการอบรมเลี้ยงดูบุตรด้วย
ความรัก ความอบอุ่นแก่พ่อแม่ ตามแนวคิดเกี่ยวกับพัฒนาการทางบุคลิกภาพของฟรอยด์
2.ในผู้ป่วยที่ต้องมีสัมพันธภาพที่ยาวนาน
(Long - team relationship) พยาบาลต้องช่วย เหลือผู้ป่วยได้เรียนรู้ทําความเข้าใจ กับความคิด (Thinking) ความรู้สึก (Feeling)และพฤติกรรมการแสดงออกตาม ค่านิยม (Values) ความเชื่อ(Believes) ของผู้ป่วย และให้การยอมรับความต้องการของผู้ป่วยว่าเป็น คนที่มีความต้องการที่จะมีความสัมพันธ์เช่น
เดียวกับคนปกติ ทั่วไป ไม่ใช่เป็นการกระทําที่ผิดบาปหรือน่าอาย (Shame)