Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก, นางสาวสุภัทรา…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาระบบประสาทกล้ามเนื้อ และกระดูก
บทบาทของพยาบาลในการดูแลเด็กที่มีความผิดปกติของระบบประสาท
การรวบรวมข้อมูลภาวะสุขภาพ
การประเมินสัญญาณชีพ
การตรวจพิเศษต่างๆ
การดูแลเด็กที่มีความผิดปกติทางระบบประสาท
การให้คำแนะนำบิดามารดาของผู้ป่วยเด็กโรคระบบประสาท
ความไม่รู้สึกตัว
เป็นภาวะการทำงานของสมองที่ไม่มีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
ระดับของความรู้สึกตัว
ระดับความรู้สึกตัวดี(full consciousness) ผู้ป่วยตื่นและรู้สึกตัวดี รับรู้เวลา บุคคล และสถานที่ปกติ
ความรู้สึกสับสน (confusion) ผู้ป่วยรู้สึกสับสน ผิดปกติเกี่ยวกับการตัดสินใจ
การรับรู้ผิดปกติ (disorientation) ผู้ป่วยไม่รับรู้ต่อเวลา บุคคล สถานที่ ความรู้สึกตัวลดลง
ระดับความรู้สึกง่วงงุน (lethargy /drowsy) ผู้ป่วยเคลื่อนไหวได้เล็กน้อย มีอาการง่วงงุน พูดช้าสับสน กระตุ้นด้วยสิ่งเร้าหรือปลุกจะโต้ตอบปกติ
ระดับความรู้สึก stupor ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว หลับลึก แต่ยังสามารถตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่รุนแรงและกระตุ้นซ้ำๆกันหลายครั้ง
ระดับหมดสติ (coma) ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่ตอบสนองทั้งการเคลื่อนไหวหรือวาจา และต่อสิ่งกระตุ้นต่างๆ
ท่าทาง (posturing) ของเด็กในภาวะไม่รู้สึกตัว
Decorticate posturing ท่านอนแบบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่มีการทำลายของเนื้อสมองส่วน cerebral cortex อย่างรุนแรง
Decerebrate posturing ท่านอนแบบนี้จะพบในเด็กหมดสติที่สมองส่วน Midbrain ไม่สามารถทำงานได้ตามปกติ
Glasgow Coma scale ในเด็ก
การตอบสนองด้วยการลืมตา (Eye opening:E)
การตอบสนองการพูด (Verbral response : V)
กรณีเด็กอายุ 0-4 ปี
กรณีเด็กอายุ 5-18 ปี
การตอบสนองด้วยการเคลื่อนไหว (Motor response:M)
กรณีเด็กอายุ 0-4 ปี
กรณีเด็กอายุ 5-18 ปี
ภาวะไม่รู้สึกตัว ร่วมกับการเคลื่อนไหวผิดปกติ
อาการสำคัญ คือ ชักเกร็ง ซึม ไม่ดูดนม
กรณีที่ 1 ไม่มีไข้ นึกถึงความผิดปกติของสมอง เนื้องอกในสมอง โรคลมชัก
กรณีที่ 2 มีไข้ นึกถึงความผิดปกติสมองที่เกิดจากการติดเชื้อของเยื่อหุ้มสมอง สมองและไขสันหลัง
กรณีที่ 3 มีไข้สูง เกิน 38 C อายุประมาณ 6 เดือน-5 ปี ไม่มีการติดเชื้อของระบบประสาทนึกถึง Febrile convulsion
ภาวะชักจากไข้สูง (Febrile convulsion)
อาการชักที่สัมพันธ์กับการมีไข้ โดยไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อของระบบประสาทหรือความไม่สมดุลย์ของเกลือแร่ ในเด็กอายุ > 1 เดือนโดยที่เด็กไม่เคยมีอาการชักและไม่มีไข้มาก่อน
ปัจจัยเสี่ยงของการชักซ้ำ
อายุ
มีความผิดปกติของระบบประสาท
ประวัติการชักของสมาชิกในครอบครัว
ไข้ที่เกิดร่วมกับการติดเชื้อ
สาเหตุ
การติดเชื้อในระบบต่างๆที่ไม่ใช่ระบบประสาท เช่น ติดเชื้อระบบทางเดินอาหาร ทางเดินปัสสาวะ
อาการ
มีอาการเมื่ออุณหภูมิสูงกว่า 39 c การชักเกิดขึ้นภายใน 24 ชม.แรกที่เริ่มมีไข้ พบมากช่วงอายุ 17-24 เดือน
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Simple febrile seizure
มีไข้ร่วมกับชักในเด็กอายุ 6 เดือน- 5 ปี
ชักแบบทั้งตัว
ชักเกิดช่วงสั้นๆไม่เกิน 15 นาที
ไม่มีการชักซ้ำ
ก่อน-หลัง ชักไม่มีอาการทางระบบประสาท
complex febrile seizure
การชักเป็นแบบเฉพาะที่หรือทั้งตัว
ชักนานมากกว่า 15 นาที
เกิดการชักซ้ำ
หลังชักมีความผิดปกติของระบบประสาท
มีอัตราเสี่ยงสูงที่จะเกิดโรคลมชัก แพทย์จึงให้ยากันชัก เช่น phenobarbital หรือ Valproic acid
การประเมินสภาพ
การซักประวัติ - ไข้ การติดเชื้อ การได้รับวัคซีน ประวัติการชัก เป็นต้น
ประเมินสภาพร่างกาย - ตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจพิเศษอื่นๆ
โรคลมชัก (Epilepsy)
การชักซ้ำๆอย่างน้อย 2 ครั้งขึ้นไป และอาการชักครั้งที่2 ห่างกันมากกว่า 24 ชม. โดยไม่ได้เกิดจากสาเหตุมีปัจจัยกระตุ้น ผลจากเชลล์ประสาทสมองปล่อยคลื่นไฟฟ้าผิดปกติ มีอาการผิดปกติของกล้ามเนื้อลาย แสดงออกทางระบบประสาทอัตโนมัติ ความรู้สึกตัวลดลง
อุบัติการณ์
พบได้ร้อยละ 4-10 ของเด็กทั่วไป บ่อยคือ 2-5 ปี เพศชายมากกว่าเพศหญิง
สาเหตุ
ทราบสาเหตุ - ติดเชื้อระบบประสาทส่วนกลาง ภยันตรายระหว่างการคลอด/หลังคลอด ที่ศีรษะ ความผิดปกติของสมดุลเกลือแร่ พัฒนาการทางสมอง
ไม่ทราบสาเหตุ - ความผิดปกติของ Neurotransmission เกิดจากความผิดปกติของยีน
กลุ่มที่หาสาเหตุไม่ได้ - มีพยาธิสภาพภายในสมอง อยู่ในกลุ่ม Symtomatic epilepsy
อาการและอาการแสดง
Preictal period คือ ระยะก่อนอาการชัก
อาการนำ
ไม่มีอาการจำเพาะ ระหว่างการเกิดจะไม่มีอาการเปลี่ยนแปลงของคลื่นไฟฟ้าสมอง
อาการเตือน
แตกต่างกันตามตำแหน่งของสมอง ชา เห็นภาพหลอน
Ictal event คือ ระยะที่เกิดอาการชัก มีระยะเวลาตั้งแต่วินาที - นาที ไม่นานเกินครึ่ง ชม.
เกิดขึ้นทันทีทันใด
เกิดในระยะสั้นๆ ไม่เกิน 5 นาที หยุดเอง
เกิดขึ้นเองบางครั้งมีปัจจัยกระตุ้น
ลักษณะเหมือนกันทุกครั้ง
Postictal peroid คือ ระยะเวลาเมื่อการชักสิ้นสุดลง ระยะนี้อาจเกิดนานหลายวินาที - หลายวัน ไม่เกิน 24 ชม.
Postical paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงเฉพาะที่
Automatism การเคลื่อนไหวร่างกายไปโดยอัตโนมัติขณะชัก เช่น เคี้ยวปาก กระพริบตาถี่ๆ
Interictal peroid คือ ช่วงเวลาระหว่างการชัก เริ่มตั้งแต่ระยะเวลาหลังการชักหนึ่งสิ้นสุดลงไปจนถึงเริ่มเกิดการชักครั้งใหม่
ชนิดของโรคลมชักและกลุ่มอาการชัก
อาการชักเฉพาะที่
ชักเฉพาะที่แบบมีสติ
อาการชักเฉพาะที่แบบขาดสติ
อาการชักเฉพาะที่ตามด้วยอาการชักทั้งตัว
อาการชักทั้งตัว
อาการชักเหม่อ
อาการเกร็งกระตุก
อาการชักกระตุก
อาการชักเกร็ง
อาการชักตัวอ่อน
อาการชักสะดุ้ง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ (Meningitis)
เป็นการอักเสบเฉียบพลันของเยื่อหุ้มสมองชั้นในสุด สมองไขสันหลัง และเยื่อหุ้มสมองถูกทำลาย
อุบัติการณ์
พบในเพศชายมากกว่าเพศหญิง ในเด็กอายุระหว่าง 2 เดือน - 7 ปี เชื้อเข้าทางหูชั้นกลางอักเสบ โพรงอากาศจมูกอักเสบ
อาการและอาการแสดง
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ ที่เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย มีอาการไข้สูง หนาวสั่น ปวดศีรษะรุนแรง ปวดข้อ ชักและซึมลงจนหมดสติ
มีอาการคอแข็ง (Nuchal rigidity คือ มีแรงต้านเมื่อก้มคอผู้ป่วย)
ตรวจพบ kernig sign และ Brudzinski sign ให้ผลบวก
พบ Neutrophil ร้อยละ 85-95 ใน CSF ประมาณ 1,000 - 100,000 เซลล์/คิวบิคมิลลิเมตร
โรคไข้กาฬหลังแอ่น (Meningococcal Meningitis)
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย Neisseria meningitides
การเก็บและส่งตัวอย่างตรวจ
วิธีทางชีวเคมี และวิธี PCR
วิธีตรวจหาค่า MIC
วิธี seminested-PCR
วิธีการติดต่อ
เชื้อนี้ติดต่อจากคนไปสู่คน เชื้อจะออกมาทางละอองน้ำมูก น้ำลาย จากปากหรือจมูกของผู้ที่เป็นพาหะ (ผู้ติดเชื้อแต่ไม่มีอาการ) หรือผู้ป่วย
อาการและอาการแสดง
ไข้ ปวดศีรษะรุนแรง อาเจียน คอแข็ง อาจมีผื่นแดง จ้ำเลือด(pink macules) ขึ้นตามผิวหนังร่วมด้วยส่วนใหญ่มาด้วยอาการสำคัญ 2 อย่าง คือ
Meningococcemia
Meningitis
การป้องกันผู้สัมผัสโรค
บุคคลที่อยู่ร่วมกับผู้ป่วยในบ้านเดียวกัน และผู้ที่สัมผัสใกล้ชิด
(Close contact) กับผู้ป่วย ต้องได้รับยาป้องกัน ได้แก่
Rifampicin หรือ ceftriaxone
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับความดันในสมองสูง
โรคอุทกเศียร : น้้าไขสันหลังคั่งในโพรงสมอง :
ภาวะน้้าคั่งในกะโหลกศีรษะ (Hydrocephalus)
อาการสำคัญ
ศีรษะโตแต่กำเนิด,กระหม่อมหน้าโป่ง,ศีรษะโตเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับทรวงอก
ปวดศีรษะ ซึม ไม่ดูดนม อาเจียนพุ่ง
สาเหตุ
Congenital Hydrocephalus ความผิดปกติในการสร้างน้ำไขสันหลัง
Obstructive Hydrocephalus ความผิดปกติในการอุดกั้นทางเดินน้้ำไข
สันหลัง
Communicate Hydrocephalus ความผิดปกติในการดูดซึมน้ำไขสัน
หลัง post meningitis
การรักษา
การรักษาด้วยยา ยาขับปัสสาวะ Acetazolamide ช่วยลดการ
สร้างน้ำหล่อสมองและไขสันหลัง ประมาณ 25-50%
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองออกนอกร่างกาย
การผ่าตัดใส่สายระบายน้ำในโพรงสมองสู่ช่องในร่างกาย
สายระบายน้ำในโพรงสมองประกอบด้วย 3 ส่วน
สายระบายจากโพรงสมอง(Ventricular shunt)
วาล์ว(Valve)และส่วนที่เก็บน้ำหล่อสมอง(Reservoir)
สายระบายลงช่องท้อง(Peritoneal shunt)
โรคแทรกซ้อนจากการผ่าตัด complication
การทำงานผิดปกติของสายระบายน้ำในโพรงสมอง(Shunt malfunction) มีการอุดตันหรือระบายมากเกิน
การติดเชื้อของสายระบายน้ำในโพรงสมอง
การอุดตันสายระบายน้ำในโพรงสมอง
ภาวะระบายน้ำในโพรงสมองมากเกิน
ภาวะโพรงสมองตีบแคบ
ภาวะเลือดออกในศีรษะ เกิดเลือดออกในโพรงสมอง
ไตอักเสบ
การรักษา IICP
รักษาเฉพาะ : รักษาสาเหตุที่ทำให้เกิด IICP เช่น เนื้องอก การอุดกั้น
ทางเดินน้ำไขสันหลัง
การรักษาเบื้องต้น กรณีมีIICPสูงอย่างเฉียบพลัน
การจัดท่านอนนอนราบศีรษะสูง 15 – 30 องศา
กรณีผู้ป่วยมีการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทอย่างรวดเร็ว ซึม ไม่รู้สึกตัว แพทย์จะรักษาโดยการใส่ท่อหลอดลมคอและช่วยหายใจ
การให้ยาขับปัสสาวะ (Diuretic) ทางหลอดเลือดดำ
การรักษาความผิดปกติที่เกิดต่อเนื่องจากพยาธิสภาพเดิมหรือที่เกิดร่วม
Hydrocephalus : Obstructive , Communicating
ภาวะสมองบวม
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง
อาการสำคัญ
มีก้อนที่หลัง ขาอ่อนแรงทั้งสองข้าง ปัสสาวะ อุจจาระ ตลอดเวลา นึกถึง Congenital Spina bifida occulta Meningocele Meningomyelocele
ไข้ร่วมกับกล้ามเนื้ออ่อนแรง มีประวัติ ไม่ได้รับวัคซีน ไม่มีประวัติการคลอดในรพ. เป็นชนต่างด้าว นึกถึง Poliomyelitis
Spina bifida
เป็นความบกพร่องของกระดูกไขสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น
พบบ่อยที่สุดที่บริเวณ
lumbosacrum
มี hydrocephalus ร่วมด้วยร้อยละ 80-90
myelomeningocele คือ ส่วนที่ยื่นออกมามีทั้ง CSF และเนื้อไขสันหลัง
แบ่งเป็น 2 ชนิด
Spina bifida occulta
ส่วน Vetebral arches ไม่รวมตัวกัน เกิดเป็นช่องโหว่ระหว่างแนวกระดูกสันหลัง เกิดบริเวณ L5หรือ S1
Spina bifida cystica
ผิดปกติของการปิดของส่วนโค้งกระดูกสันหลัง ทำให้มีการยื่นของไขสันหลัง หรือเยื่อหุ้มสมองผ่านกระดูกออกมาให้เห็นเป็น ถุงหรือก้อน มี 2 ชนิด
Meningocele
Myelomeningocele
การวินิจฉัย
การซักประวัติ : มารดาไม่ได้รับกรดโฟลิคขณะตั้งครรภ์
การตรวจร่างกาย : แขนขาอ่อนแรง พบก้อนหรือถุงตามแนวกระดูกสันหลัง
การตรวจพิเศษ : การตรวจระดับ alpha fetoprotein ขณะตั้งครรภ์ผิดปกติ
การรักษา
spida bifida occulta ไม่จำเป็นต้องรักษา แต่ชนิด Cystica ต้องผ่าตัดภายใน 24 – 48 ชั่วโมงภายหลังเกิด
เป็นอัมพาตครึ่งล่าง มักทำ V P Shunt ภายหลัง
การป้องกัน : ให้กรดโฟลิคแก่หญิงตั้งครรภ์จะช่วยลดการเกิดโรคได้
ภาวะไม่รู้สึกตัวร่วมกับสติปัญญาบกพร่อง
อาการสำคัญ
ไม่รู้สึกตัว เกร็งเมื่อกระตุ้น หายใจไม่มีประสิทธิภาพ พัฒนาการล่าช้า
มีประวัติ สมองขาดออกซิเจน นึกถึง Cerebral palsy
สมองพิการ (CP: Cerebral palsy)
ชนิดของสมองพิการ
กล้ามเนื้อหดเกร็ง (Splastic)
Splastic quadriplegia คอและลำตัวอ่อนผิดปกติ ศีรษะเล็ก น้ำลายไหล
Splastic diplegia ขาผิดปกติมากกว่าแขน
Splastic hemiplegia ผิดปกติที่แขนขาซีกใดซีกหนึ่ง
Extrapyramidol cerebral palsy (athetoidsis) บังคับส่วนต่างๆของร่างกายให้ไปในทิศทางที่ต้องการไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนปวกเปียก
Ataxia cerebral palsy มีเดินเซ ล้มง่าย กล้ามเนื้อตึงตัวน้อย ทรงตัวได้ไม่ดี
Mixed type หลายอย่างร่วมกัน
อาการและอาการแสดง
มีการเจริญเติบโตและพัฒนาการช้า
ปัญญาอ่อน
อาการอื่นๆ ร่วม เช่น ชัก หูหนวก ตาบอด
การประเมินสภาพ
ซักประวัติ : มารดามีการติดเชื้อขณะคลอด
ประเมินร่างกาย : เส้นรอบศีรษะไม่เพิ่มขึ้น ท่าทางการเคลื่อนไหวผิดปกติ
เป้าหมายการพยาบาลเด็กที่ไม่รู้สึกตัว
การทำทางเดินหายใจให้โล่ง
แรงดันภายในสมองต้องไม่เพิ่มขึ้น
ได้รับการดูแลขั้นพื้นฐานอย่างมีคุณภาพ
คำแนะนำในการรับประทานยากันชัก
ด้านการขับถ่าย
ด้านความสะอาด
ไม่มีภาวะแทรกซ้อนจากการไม่สามารถเคลื่อนไหวได้
ครอบครัวผู้ป่วยเด็กได้รับความรู้และคำแนะนำเกี่ยวกับความเจ็บป่วย
แนะนำเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ
นางสาวสุภัทรา บดีรัฐ ห้องA เลขที่86 รหัสนักศึกษา 613601092