Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด, นางสาวรุจิตรา โพธิวัสดิ์ เลขที่3 ห้องA -…
การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด
ระบบทางเดินอาหาร
ท้องผูก
พบได้บ่อย 2-3 วันหลังคลอด เนื่องจาก progesterone ทำให้ลำไส้เคลื่อนไหวช้าลง
ความตึงตัวของทางเดินอาหารและความดันในช่องท้องลดลง
สวนอุจจาระก่อนคลอด
เจ็บบริเวณฝีเย็บและริดสีดวงทวาร ทำให้มารดาไม่อยากถ่ายอุจจาระเพราะกลัวเจ็บแผล
การสูญเสียน้ำในร่างกาย และ NPO กลับคืนสู่สภาพเดิมประมาณ 8-14 วัน
น้ำหนัก
สัปดาห์แรกหลังคลอด ลดลงอีก 2.3 -3.6 กก. จากการขับออกทางเหงื่อ ปัสสาวะ และกระบวนการ involution of uterus
สัปดาห์ที่ 6 – 8 มารดาที่มี BMI ปกติก่อนการตั้งครรภ์ และมีน้ำหนักที่เพิ่มขึ้นระหว่างตั้งครรภ์ที่ปกติจะมีน้ำหนักลดลงใกล้เคียงกับ ระยะก่อนการตั้งครรภ์
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ไต
การทำงานของไตลดลง อาจเนื่องจากระดับของ steroid hormone
ท่อไตและกรวยไตที่ขยายในระยะตั้งครรภ์ จะกลับคืนสู่สภาพปกติเหมือนก่อนการตั้งครรภ์ ภายใน 4-6สัปดาห์หลังคลอด
ส่วนประกอบของน้ำปัสสาวะ
ระยะแรกหลังคลอดพบ lactosuria
ระดับblood urea nitrogen สูงในมารดา BF เนื่องจากการเกิด involution of uterus
อาจพบ mild proteinuria (+1) ซึ่งเกิดจากกระบวนการย่อยสลายโมเลกุล (catabolism)
อาจพบ ketonuriaได้ในผู้คลอดที่คลอดยาวนานร่วมกับมีภาวะ dehydration
ระบบหัวใจเเละหลอดเลือด
ปริมาณเลือด
โดยปกติ Cardiac output จะสูง ประมาณ 48 ชั่วโมงหลังคลอด จะลดลงภายใน 2 สัปดาห์ ลดลงร้อยละ 30
2-3 ชั่วโมงแรก จะสูงขึ้นชั่วคราว เนื่องจากมดลูกมีขนาดเล็กลงและแรงกด ที่บริเวณมดลูกลดลงและน้ านอกหลอด เลือดกลับเข้าสู่หลอดเลือด
6-12 สัปดาห์ จะกลับเข้าสู่สภาวะปกติ
สัญญาณชีพ
ชีพจร
8-10 สัปดาห์หลังคลอดจะกลับสู่ระดับปกติ PR จาก PPH, infection, pain, anxiety
ชีพจรเกิดbradycardiaประมาณ 50 -60/ min เนื่องจากCardiacoutput เพิ่มขึ้น และ stroke volume
การหายใจ
RR ลดลงจากการลดลงของมดลูก กระบังลมเคลื่อนต่ำลงมีผลต่อ cardiac axis เข้าสู่ระดับปกติในสัปดาห์ที่ 6-8 หลังคลอด
Systolic murmur ที่เกิดขึ้นในระยะตั้งครรภ์ หายไปในวันที่ 8 หลังคลอดหรือคงอยู่นานถึง 4 เดือนหลังคลอด
ความดันโลหิต
เกิด orthostatic hypotension จาก การที่ความดันในช่องท้องลดลงอย่างรวดเร็ว ทำให้หลอดเลือดที่มีเลี้ยงอวัยวะต่างๆในช่อง ท้อง เกิดการขยายตัวและคั่ง ท าให้ BP ลดลง อย่างรวดเร็ว
ภายใน 48 ชั่วโมงหลังคลอด BP อาจสูงขึ้น หรือลดลงได้เล็กน้อย กลับคืนสู่ระดับปกติ ประมาณ วันที่ 4 หลังคลอด
BP ต่ำได้จากสูญเสียเลือดมากจากการคลอด หรือได้รับยาบางชนิด
อุณหภูมิร่างกาย
แต่หาก BT เกิน 38 องศาเซลเซียส เกิน 24 ชั่วโมง แสดงว่าอาจติดเชื้อเกิดขึ้น
2-3 วันแรกอาจมีไขต่ าๆ จากการคัดตึงเต้านม “milk fever” เกิดจาก vascular และ lymphatic engorgement ถือเป็นภาวะปกติ
การหายใจ
Systolic murmur ที่เกิดขึ้นในระยะตั้งครรภ์ หายไปในวันที่ 8 หลังคลอดหรือคงอยู่นานถึง 4 เดือนหลังคลอด
RR ลดลงจากการลดลงของมดลูก กระบังลมเคลื่อนต่ำลงมีผลต่อ cardiac axis เข้าสู่ระดับปกติในสัปดาห์ที่ 6-8 หลังคลอด
ระบบต่อมไร้ท่อ
Progesterone
วันที่ 3 หลังคลอด ใน plasma จะลดลงต่ำกวา่ในระยะ luteal phase ซึ่งเป็น ระยะที่ corpus luteum พัฒนาเยื่อบุโพรงมดลูกให้รองรับไข่ต่อไป
ประมาณ 1 สัปดาห์ จะตรวจไม่พบ progesterone serum และจะผลิตอีกครั้งเมื่อตก ไข่รอบใหม่
Prolactin
มีระดับสูงขึ้นเรื่อยๆ ตั้งแต่ในขณะตั้งครรภ์จนกระทั่งหลังคลอด
มารดาที่ไม่ได้ BF นั้น Prolactinจะลดลงเท่ากับก่อนตั้งครรภ์ใน 2สัปดาห์ หลังคลอด
มารดาที่ BF จะมีระดับ Prolactinคงอยู่ในระดับสูงนาน 6 –12 เดือน แต่แตกต่างกันออกไปตามความถี่ของการให้นมบุตรในแต่ละวัน
ระดับ Prolactin ปกติ หากมารดาให้นมบุตร 1-3 ครั้ง/ วัน และจะคงระดับ ได้นานกว่า 1 ปี หากให้นมบุตรสม่ าเสมอมากกว่า 6 ครั้ง/ วัน
Follicle-stimulating hormone (FSH)
มารดาหลังคลอดจะไม่มีการตกไข่และการมีประจำเดือนอยู่ช่วงระยะหนึ่ง เนื่องจากระดับ Estrogenและ Progesterone ในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว ร่วมกับระดับ Prolactin เพิ่มขึ้นกดการทำงานของรังไข่ (Inhibit follicular development) ทำให้กดการหลั่ง FSH & LH ซึ่งท าให้ไม่มีการกดไข่และไม่มีประจำเดือน
Luteinizing hormone (LH)
มารดาที่ไม่ได้ BF จะกลับมามีประเดือนอีกครั้ง ภายใน 7-9 สัปดาห์ พบว่า ร้อยละ 50 ของประจ าเดือนครั้งแรกจะไม่มีการตกไข่ เนื่องจาก corpus luteum ยังทำงานได้ไม่เต็มที่ มีระดับ LH และ Progesterone ในเลือดต่ำ
การตกไข่จะเกิดขึ้นเร็วสุดอีกครั้ง ประมาณวันที่ 25 หลังคลอด
การเปลี่ยนแปลงของระบบอวัยวะสืบพันธ
มดลูก
มดลูกจะมีลักษณะกลมแข็งอยู่ที่ระดับสะดือหรือสูงกว่าเล็กน้อย
กล้ามเนื้อมดลูกจะกลับเข้าสู่สภาพเดิมภายใน 2–3
สัปดาห์หลังคลอดอาศัย ขบวนการ 2 ประการ คือ
การย่อยสลายตัวเอง (autolysis or self digestion)
เกิดจากการลดระดับของฮอร์โมนเอสโตรเจนและโปรเจสเตอโรนท้าให้ Collaginase ในตัว
มดลูกท้างานมากขึ้น ท้าให้เพิ่มการหลั่งน้้าย่อยพวก proteolytic enzyme ซึ่งจะไปย่อย
สลายโปรตีนทั้งในเยื่อบุโพรงมดลูกและในกล้ามเนื้อมดลูก แล้วถูกดูดซึมเข้าสู่หลอดเลือด
ขับออกทางปัสสาวะ
การขาดเลือดมาเลี้ยงกล้ามเนื้อมดลูก (Ischemia or localized anemia)
เกิดจากการบีบรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูก ซึ่งถูกควบคุมโดย Oxytocin กดเส้นเลือดที่มา
เลี้ยงมดลูกโดยเฉพาะตรงบริเวณที่รกเกาะ เพื่อขจัดการสูญเสียเลือด เกิดการเหี่ยวฝ่อของ
เยื่อบุภายในโพรงมดลูก และเกิดการบุบสลาย ถูกขับออกมาทางน้้าคาวปลา
After pain
อาการปวดมดลูกมีสาเหตุจากการหดรัดตัวและคลายตัวของกล้ามเนื้อมดลูก
เกิดในมารดาครรภ์หลัง ส่วนในครรภ์แรก ปกติจะไม่
มีอาการปวดมดลูก เนื่องจาก กล้ามเนื้อมดลูกยังมีความตึงตัวสูง
น้้าคาวปลา
Lochia serosa มีลักษณะสีชมพู-สีน้้าตาล พบในระยะหลังคลอดวันที่ 3-10
วัน
Lochia alba มีลักษณะสีฟางข้าว-สีขาว จะปรากฏจนกระทั่งสัปดาห์ที่ 3
หลังคลอด
Lochia rubra มีลักษณะสีแดง พบใน 3 วันแรกหลังคลอด
ปากมดลูก(Cervix)
ระยะแรกหลังคลอดปากมดลูกจะมีลักษณะนุ่ม
บาง external os
ช่องคลอด
ภายใน 6 – 10 สัปดาห์ ผนังช่องคลอดฟื้นตัวกลบัสสู่ภาวะปกติ หากมีเพศสัมพันธ์ก่อนอาจจะเกดิความเจ็บปวดได ้(dyspareunia
ภายในสัปดาห์ที่ 3 – 4 หลังคลอด ผนังช่องคลอดจะค่อยๆ ฟื้นตัวช้าๆ
ฝีเย็บ (Perineum)
หลังคลอด บริเวณ ฝีเย็บจะ ร้อนแดง erythematous เกิดจากการคั่งและบวมช้ า
กรณีตัดฝีเย็บหรือมีการฉีก ขาดแผลฝีเย็บจะเริ่มหาย ภายใน 2 – 3 สัปดาห์
นางสาวรุจิตรา โพธิวัสดิ์ เลขที่3 ห้องA