Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิทยาการระบาดกับการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ - Coggle Diagram
วิทยาการระบาดกับการป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
โรคหัวใจและหลอดเลือด
กลุ่มที่ 2 โรคหัวใจขาดเลือดจากหลอดเลือดโคโรนารีที่ไปเลี้ยงหัวใจตีบตัน
กลุ่มที่ 3 โรคหัวใจรูห์มาติค
กลุ่มที่ 1 โรคความดันโลหิตสูงและโรคหลอดเลือดในสมองหรือ "อัมพาต"
การป้องกัน
การป้องกันปฐมภูมิ : ประเมินปัจจัยเสี่ยง ปรับบริโภคนิสัย ลดน้ำหนัก สร้างปัจจัยส่งเสริมสุขภาพ
การป้องกันก่อนปฐมภูมิ : งดผลิตบุหรี่ สุรา ออกกฎหมาย กำหนดนโยบาย จัดให้อยู่ในหลักสูตรระดับต่างๆ จัดสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อสุขภาพ
การป้องกันทุติยภูมิ : การคัดกรองโรคและรักษาอย่างทันท่วงที การจัดให้มีระบบบรืการดูแลสุขภาพที่ครบวงจร การจัดให้มีระบบการดูแลสุขภาพที่เสริมความสม่ำเสมอในการดูแลผู้ป่วย
โรคความดันโลหิตสูง
ปัจจัยเสี่ยง : โรคไตวาย ภาวะหัวใจโต โรคจอประสาทตา
ระดับความดันเลือดสูงจนทำลายผนังหลอดเลือดและอวัยวะปลายทาง เช่น เส้นเลือดในสมองแตก หัวใจล้มเหลว หลอดหลอดโป่งพอง
โรคเบาหวาน
ปัจจัยเสี่ยง : อายุมากขึ้น พันธุกรรม น้ำหนักเกิน ฯลฯ
คุณภาพชีวิตลดลงจากภาวะ ปลายประสาทตาจอประสาทตาเสื่อม โรคหัวใจและหลอดเลือด โรคไต แผลที่เท้า ฯลฯ
4 ชนิด ได้แก่ เบาหวานประเภทที่1 เบาหวานประเภทที่2 เบาหวานประเภทอื่นๆและเบาหวานในหญิงมีครรภ์
อาการ : ปัสสาวะมาก ดื่มน้ำมาก กินจุ เป็นแผลง่าย คันตัว ผิวหนังและอวัยวะสืบพันธุ์ ตาพร่า มือชา เท้าชา
การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคเบาหวาน
การป้องกันระดับบุคคล
การป้องกันระดับทุติยภูมิ : คัดกรอง รักษา
การป้องกันระดับตติยภูมิ : ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การป้องกันระดับปฐมภูมิ : ปรับพฤติกรรมการกิน
การป้องกันระดับชุมชน
โรคหลอดเลือดในสมอง
เนื้องอกสูญเสียสมรรถภาพในการทำงานจากภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง ตีบตัน หลอดเลือดอักเสบ หลอดเลือสมองโป่งพองและแตก ก้อนเลือดจากที่อื่นมาอุดเส้นเลือด เป็นต้น
อาการ : ชัก สับสน แขนขาอ่อนแรง
สาเหตุ : ความดันเลือดสูง
โรคมะเร็ง
คุณสมบัติ 4 ประการ คือ
Anaplasia : ขาดความเป็นปกติ
Metastasis : สามารถแพร่กระจายไปยังส่วนอื่นๆของร่างกาย
Autonomy : เซลล์มะเร็งสามารถแบ่งตัวได้ภายใต้ภาวะที่ไม่เกื้อกูลต่อการแบ่งตัว
Clonality : มีความสามารถในการจับเป็นกลุ่มก้อน
การป้องกันและควบคุมโรคมะเร็ง
ระดับบุคคล : บำรุงร่างกาย รักษาความสะอาดปากและฟัน ศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยเสี่ยง สังเกตสัญญาณอันตราย ตรวจสุขภาพประจำปี
ระดับชาติ : ความร่วมมือจากภาครัฐและเอกชน ป้องกันในระดับมหภาค ป้องกันการสัมผัสสาเหตุ ตรวจหามะเร็งระยะเริ่มแรก รักษาบรรเทาอาการและฟื้นฟูสมรรถภาพ
ปัจจัยที่ก่อให้เกิดมะเร็ง
ปัจจัยโดยตรง หรือ ปัจจัยเสี่ยง
สัญญาณอันตราย : เป็นตุ่ม ก้อน แผลที่เยื่อเมือก แผลเรื้อรัง ตกขาว เลือดออกทางทวารหนัก ท้องอืด เบื่ออาหาร ผอมลง กลืนลำบาก เสียงแหบ ไอหาสาเหตุไม่ได้
โรคคอพอก
อาการ : สติปัญญาพัฒนาด้วยกว่าปกติ การเจริญเติบโตของร่างกายต่ำกว่าปกติ
การป้องกันและควบคุมโรค
ระยะปฐมภูมิ : เสริมไอโอดีนในน้ำดื่มพื้นที่เสี่ยง เสริมอาหารสำคัญในหญิงตั้งครรภ์ เฝ้าระวังการขาดสารไอโอดีน
ระยะก่อนปฐมภูมิ : เพิ่มไอโอดีนในอาหาร รณรงค์ประชาสัมพันธ์ จัดการและสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่าย