Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย - Coggle Diagram
แนวคิด หลักการการพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน และสาธารณภัย
การเจ็บป่วยฉุกเฉิน
การเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นอย่างกะทันหัน
ต้องดำเนินการช่วยเหลือและการดูแลรักษาทันที
การเกิดโรคในระบบต่างๆของร่างกาย
การบาดเจ็บ
การเกิดโรคติดต่อ
โรคติดเชื้อ
การเจ็บป่วยวิกฤต
Crisis นำมาใช้กับผู้ป่วยที่อยู่ในสภาวะที่มีสถานการณ์คับขัน เป็นจุดวิกฤตของการเป็นโรค ทำให้มีอาการดีขึ้นหรือตายได้ทันที
Crisiscare
มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏอันตราย เพื่อแก้ไขภาวะล้มเหลวหรือรักษาสภาพการทำงานของระบบนั้น
Critical ผู้ป่วยอาการเพียบหนัก มีอาการรุนแรง หรือขั้นฉุกเฉิน มีอันตราย
Criticalcare
มุ่งเน้นแก้ไขอาการที่ปรากฏในครั้งแรกและป้องกันไม่ให้เข้าสู่สถานการณ์คับขัน
อุบัติเหตุ (Accident)
อุบัติการณ์ซึ่งเกิดขึ้นโดยไม่คาดหมายมาก่อน
ทำให้เกิดการบาดเจ็บตายและสูญเสียทรัพย์สินโดยที่เราไม่ต้องการ
ถ้าอุบัติเหตุมีขนาดใหญ๋เรียกว่า Disaster
ความรุนแรงแบ่งออกเป็น
อุบัติเหตุปกติที่เกิดขึ้นทุกวัน เช่นอุบัติเหตุทางจราจร
สาธารณภัย วินาศภัย ที่มีผลกระทบต่อสังคมและต้องระดมคนมาช่วยเหลือ
ไฟไหม้,ภัยแล้ง,วาตภัย,อุทกภัย อันมีผลกระทบต่อสาธารณชน
อุบัติเหตุกลุ่มชน หรืออุบัติภัยหมู่ (MASS CASSUALTIES)
อุบัติเหตุที่เกิดกับคนจำนวนมาก
ได้รับการเจ็บป่วยจำนวนมาก
ต้องมีการระดมพลเจ้าหน้าที่ของโรงพยาบาลหรือนอกโรงพยาบาลมาช่วย
ลักษณะทางคลินิกของผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
ผู้ที่มีอาการหนักรุนแรงต้องการคนดูแลจากเจ้าหน้าที่ที่มีความชำนาญเฉพาะทาง
ไม่รู้สึกตัว ชัก เป็นอัมพาต
หยุดหายใจ หายใจช้ากว่า 10 ครั้ง/นาที หรือเร็วกว่า 30 ครั้ง/นาที หายใจลำบากหรือหอบเหนื่อย
คลำชีพจรไม่ได้
ความดันโลหิต Systolic ตำกว่า 80 มม.ปรอท หรือ Diastolic สูงกว่า 130 มม.ปรอท
ตกเลือดเลือดออกมากซีดมาก
เจ็บปวดทุรนทุรายกระสับกระซ่าย
มือเท้าซีดเย็น เหงื่อออกมา
อุณหภูมิของร่างกายต่ำกว่า 35 เซลเซียส หรือสูงกว่า 40 เซลเซียส
ถูกผิดจากสัตว์ เช่น งู
ผู้ป่วยวิกฤต
ผู้ป่วยที่สามารถรักษาได้
ผู้ป่วยที่หมดสติ ระบบทางเดินหายใจล้มเหลว
ผู้ป่วยที่มีอัตราตายสูง
ผู้ป่วย Septic Shock หากไม่ได้รับการช่วยเหลือผู้ป่วยจะเสียชีวิตในอัตราสูง
ผู้ป่วยที่มีแนวโน้มทีจะมีอาการรุนแรง
ผู้ป่วย Myocardialin farction ต้องเฝ้าระวังอย่างใกล้ชิด
ผู้ป่วยที่อัตราตายสูง
ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย
ผู้บาดเจ็บจากสาธารณภัย
กลุ่มอาการไม่รุนแรง
ผู้ป่วยเดินได้ถือว่าอาการไม่หนัก เช่น อุบัติเหตุบนถนน
กลุ่มอาการหนัก
ต้องหามนอนหรือนั่งมา ต้องตรวจอย่างละเอียด เช่น ขาหัก ขาผิดรูป
กลุ่มอาการหนักมาก
ต้องให้การรักษาโดยเร่งด่วนหรือช่วยชีวิตทันที
กลุ่มผู้เสียชีวิต
เป็นกลุ่มที่หมดหวังในการรักษา
หลักพยาบาลผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
1.เพื่อช่วยชีวิต
ผู้ป่วยที่มีภาวะหยุดหายใจหรือหัวใจหยุดเต้นกะทันหัน ต้องรีบช่วยหายใจด้วยวิธีที่เหมาะสม และนวดหัวใจทันที
2.การป้องกันและบรรเทาไม่ให่เกิดอาการรุนแรงถึงขั้นวิกฤต
การทำแผล การใส่เฟือกชั่วคราวกระดูกที่หัก การดามกระดูก
3.การบันทึกเหตุการณ์อาการและการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
4.การส่งต่อ
หลังจากการช่วยเหลือผู้ป่วยเบื้องต้น ต้องรีบเคลื่อนย้ายและนำส่งโรงพยาบาลเพื่อทำการรรักษาต่อทันที
หลักการพยาบาลเบื้องต้นผู้ป่วยภาวะฉุกเฉิน
หลักในการอุ้มยก เคลื่อนย้ายผู้ป่วย อย่างนุ่มนวลและปลอดภัย
การซักประวัติการเจ็บป่วยและอาการสำคัญอย่างละเอียดในเวลาที่รวดเร็ว
ทำการคัดกรองผู้ป่วยอย่างรวดเร็วแม่นยำ
ให้การรักษาพยาบาลภายใต้นโยบายของโรงงพยาบาล
การฟื้นคืนชีพอย่างถูกต้อง
ให้การดูแลจิตใจของผู้ป่วยและญาติ
มีการนัดหมายเพื่อให้การรักษาต่อเนื่อง
มีการส่งต่อเพื่อการรักษา
ภัยพิบัติ/สาธารณภัย (Disaster)
สาธารณภัย/ภัยพิบัติ(Disaster)
ภัยที่เกิดขึ้นไม่ว่าจะเกิดจากธรรมชาติหรือจากการกระทำของมนุษย์แล้วก่อให้เกิดอันตราย
ภัยอื่นๆ อันมีผลกระทบต่อสาธารณชนไม่ว่าเกิดจากธรรมชาติ มีผู้ทำให้เกิดขึนอุบัติเหตุ ซึ่งก่อให้เกิดอันตราย
ภัยทางอากาศและการก่อวินาศกรรม
อุบัติภัย
ภัย(Hazard)
เหตุการณ์หรือปรากฎการณ์ใดๆที่สามารถทำให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ความทรัพย์สินความเป็นอยู่ และสิ่งแวดล้อม
อุบัติเหตุกลุ่มชน/อุบัติภัยหมู่ (MASS CASSUALTIES)
2.Mass casualties เกิดกับคนจำนวนมาก เกิดขีดความสามารถของสถานพยาบาล
1.Multiple casualties ทั้งจำนวนและความรุนแรงของผู้ป่วยไม่เกิดขีดความสามารถของโรงพยาบาล
หลักการพยาบาลสาธารณภัย
การบรรเทาภัย (Mitigation)
ดำเนินการเพื่อลดหรือจำกัดผลกระทบของการเกิดภัยพิบัติ
การเฝ้าระวังหรือระบบมีข่าวกรองในการแจ้งภัยล่วงหน้า
การเตรียมความพร้อม (Preparedness)
เตรียมคนให้พร้อม มีการฝึกอบรมความรู้และทักษะ
การตอบโต้เหตุการณ์ฉุกเฉิน (Response)
โดยยึดตามหลัก CSCATT
C - Command หัวหน้าสั่ง
S - Safety A,B,C ดูแลให้ได้รับความปลอดภัย
A - Assessment
M-Major incident เหตุการณ์สาธารณภับหรือไม่
T-Type of accident ประกอบของสาธารณภัย
E-Exact location สถานที่เกิดเหตุที่ชัดเจน
H-Hazard มีอันตรายอะไรบ้าง
A- Access ข้อมูลการเดินทางเข้า-ออก
N - Number of casualties จำนวนและความรุนแรงของผู้บาดเจ็บ
E- Emergency service หน่วยฉุกเฉินไปถึงหรือยัง
T - Trige
T - Treatment
T - Transportation
การควบคุมยับยั้งโรคและภัยอันตรายที่อาจเกิดขึ้น
การบูรณะฟื้นฟู(Recovery) ทางด้านร่างกาย จิตใจ
ระบบทางด่วน Fast track / Pathway system
เป็นแนวทางของระบบบริการสุขภาพที่ช่วยให้ผู้เข้าถึงบริการอย่างทันเวลาและลดระยะเวลาการรักษา
เพื่อให้ได้รับการรักษาเฉพาะทางที่มีศักยภาพสูง
เพื่อลดอัตราการเสียชีวิต ได้แก่ ทางด่วนสำหรับผู้ป่วยอุบัติเหตุ (Trama fast track) ระบบทางด่วนคนเจ็บหน้าอก (Chest pain fast)
บทบาทพยาบาลกับระบบทางด่วน
การประเมินเบื้องต้นโดยใช้ความรู้ ความสามารถเฉพาะโรค
การรายงานแพทย์ผู้รักษาเพื่อตัดสินใจสั่งการรักษา
การประสานงานผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกองค์กร
การจัดการและดูแลขณะส่งต่อ
การให้้การดูแลตามแผนการรักษา
การติดตามอาการอย่างต่อเนื่อง
การให้ความช่วยเหลือเมื่อมีความผิดปกติและติดตามผล
การดำเนินงานเพื่อประโยชน์ในการวิเคราะห์ผลาดเนินการ
การจัดระบบให้มีการทวนและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
หลักการดูแลผู้บาดเจ็บ (Trauma life support)
เป็นระบบสำหรับการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเพื่อให้ได้ใช้แหล่งประโยชน์ที่เหมาะสมและคุ้มค่า
การเข้าถึงหรือรับรู้ว่ามีเหตุเกิดขึ้น (Access)
ช่วยเหลือผู้บาดเจ็บได้เวลาอันรวดเร็ว มีศูนย์การรักแจ้งเหตุ 1669
การดูแลในระยะก่อนถึงโรงพยาบาล
ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของสิ่งแวดล้อมเป็นอันดับแรก
การดูแลในระยะที่โรงพยาบาล
ดูแลต่อตั้งแต่การคัดแยก ระบบทางด่วนฉุกเฉิน การวินิจฉัย
การฟื้นฟูสภาพ และการส่งต่อ
เพื่อให้มีคุณภาพที่ดีภายหลังจากการได้รับการรักษา
การดูแลผู้บาดเจ็บขั้นต้น
การประเมินผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บเบื้องต้น (Primary Survey)
ภาวะที่คุกคามต่อชีวิต
เมื่อพบแล้วต้องรีบแก้ไขทันที Resuscitation
A Airway with Cervical spine control ประเมินการหายใจ
Breathing การหายใจ
Circulation ระบบไหลเวียนโลหิต
Exposure การบาดเจ็บอื่นๆ
Resuscitation การช่วยเรื่องหายใจและการไหลเวียนเลือด เพื่อให้ผู้บาดเจ็บพ้นภาวะฉุกฉินและวิกฤต
Secondary Survey การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด
การตรวจอย่างละเอียดหลังจากผู็ป่วยพ้นภาวะวิกฤต
การซักประวัติ
การตรวจ Head to toe
การตรวจทางรังสีรักษา
การตรวจทางห้องปฎิบัติการ
การตรวจพิเศษต่างๆ
Definitive care การรักษาผู้ป่วยภายหลังได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นแล้ว
Primary survey ขั้นตอนและวิธีการ
Ariway maintenance with cervical spine protection
การประเมิน Ariway เพื่อหาอาการ Ariway obstruction
เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง โดยใช้วิธีการ jaw-thrust Maneuver หรือ Head - tilt Chin - lift
ป้องกันการบาดเจ็บของ Cervical spine ตลอดเวลา
สาเหตุ ภาวะทางเดินหายใจอุดกั้น
ลิ้นตก อุดตัน
เลือดออกในช่องปากและทางเดินหายใจส่วนบน
การบวมของ Soft tissue ในคอ
สิ่งแปลกปลอมฟัน
เศษอาหารที่อาเจียน
มักเกิดในผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว บาดเจ็บใบหน้าและคอ
อาการที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
restless จากภาวะ Hypoxia
หายใจเสียงดัง
เปลือกตาซีด
ปลายมือเท้าซีดเขียว
ผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาการอุดกั้นทางเดินหายใจส่วนบน
ผู้ที่ได้รับบาดเจ็บกระดูกสันหลังส่วนคอ (Cervical spine injury)
ผู้บาดเจ็บที่ต้องระมัดระวัง (Cervical spine injury)
ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว
ผู้ป่วยที่บ่นปวดคอ
ผู้ป่วยที่ไม่สามารถเคลื่อนไหวคอได้เอง
ผู้ป่วยที่มีบาดเจ็บศีรษะ การบาดเจ็บคอ
ต้องป้องกันการเคลื่อนไหวของ Cervical spine
ประคับประคองไม่ให้มี Hyperxtension หรือ Hyperflexion หรือ rotating ของคอ
ต้องป้องกันการบาดเจ็บของ Spinal cord โดยการใส่ Cervical collar หรือใช้หมอนทรายวางที่สองข้างของศีรษะไว้ตลอดเวลาจนแน่ในใจว่าไม่มี Cervical spine injury จึงสามารถถอดได้
กรณีทำหัตถการบางอย่างควรให้ผู้ช่วยทำ Manual in-line immobilization ไว้ตลอดเวลา
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บ Multiple injuty หรือมี blunt trauma เหนือ Clavicle ควรคิดว่าอาจมี (Cervical spine injury) ร่วมด้วยเสมอ
แพทย์จะพิจารณาใส่ท่อช่วยหายใจ (Endotracheal intubation)
แพทย์ส่วนใหญ่จะใส่ endotracheal ทางปากเป็นอันดับแรกเนื่องจากได้ผลดี ง่ายสะดวก
การใส่ endotracheal ต้องทำการแหงนคอผู้ป่วยจึงอาจทำให้้เกิดการบาดเจ็บและเกิดการกดทับไขสันหลังระดับคอได้
Breathing and Vantilation
เป็นการประเมิน การช่วยหายใจและการระบายอากาศเพื่อให้มีการแลกเปลี่ยน
ปัญหาการหายใจที่พบบ่อยในการทำ Primary survey
tension pneuothorax
Flail chest with pulmonary contusion
Hemothorax
พยาบาลควรวินิจฉัยภาวะผิดปกติ ตั้งแต่ Primary survey
Tension pneumothorax
Massive hemothorax
โดยประเมินจาก การเปิดดูร่องรอยบาดแผล , ดูการเคลื่อนไหวบริเวณทรวงอก
Circulation and Hemorrhage control
เป็นการประเมินในระบบไหลเวียนและการห้ามเลือด
ภาวะช็อก
ภาวะเนื้อเยื่อได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
สาเหตุอื่น Cardiac tamponade จากการถูกยิง ถูกแทง ที่หัวใจ
อาการที่พบในผู้ป่วยภาวะ Shock
ระบบประสาท จะเริ่มมีอาการซึม เชื่องช้าสับสน
ผิวหนัง ผู้ป่วยจะมีผิวเย็น ชื้น เหงื่อออกมา cyanosis ยกเว้น Septic shock ที่ผิวหนังจะอุ่น สีชมพูในระยะแรก
หัวใจและหลอดเลือด
Blood pressure ผู้ป่ยวช็อก Systolic BP ต่ำกว่า 90 mm.Hg หรือต่ำกว่า 50 mm.Hg
Pulse จะพบชีพจรเบา เร็ว
Capillary filling time จะพบนานกว่า 1-2 วินาที
Central venous pressure เท่ากับ 7-8 cm.H2O
ระบบหายใจพบการหายใจเร็ว และไม่สม่ำเสมอ
ระบบทางเดินปัสสาวะ จะลดลง 30-50 ml./hr และ 40 ml./hr เกิดภาวะไตวายจะออกน้อยกว่า 20 ml/hr
ระบบทางเดินอาหาร ผู้ป่วยกระหายน้ำ น้ำลายน้อยลง ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน
ภาวะกรดด่างของร่างกาย เกิดการเผาผลาญแบบ anaerobic metabolism จนเกิดภาวะ acidosis metabolic จะมีอาการซึม อ่อนเพลีย งุนงง
Disability : Neurologic Status
เป็นการประเมินระบบประสาทต่อว่าสมองหรือไขสันหลังได้รับบาดเจ็บหรือไม่
หลังจากดูแลผู้ป่วย Airway,Breathing,Circulation ที่อาจเป็นตรายต่อชีวิต
เริ่มประเมินจากระดับความรู้สึกตัวซึ่งอาจประเมินตั้งแต่แรกรับผู้ป่วยพร้อม Airway อาจใช้ Glasgow Coma Scale
การตรวจประเมินรูม่านตา
ปกติจะหดเล็กลงเมื่อได้รับแสงสว่างและกลับคืนสู่ขนาดปกติโดยมีอัตราความเร็วแตกต่างกัน
เส้นผ่าศูนย์กลางขณะหดตัวจะมีขนาด 3-4 มิลลิเมตร
การขยายรูม่านตาที่ไม่เท่ากัน โตเพียงข้างเดียว ข้างที่มีขนาดใหญ่ไม่มีปฏิกิริยาต่อแสง
Sluggish รูม่านตาค่อยๆ หดตัวเล็กลงช้ากว่าคนปกติ
Exposure / Environment control
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บหนัก
ควรถอดเสื้อผ้าออกให้หมดเพื่อค้นหาการบาดเจ็บต่าๆ
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บหนักอาจใช้กรรไกรในการตัดเสื้อและกางเกงเพื่อจะได้ตรวจร่างกายอย่างถูกต้อง
ขณะตรวจในห้องควรจะอุ่น เพื่อป้องกันภาวะ Hypothermia
ในขั้นตอนที่จำเป็นควรทำการพลิกตะแคงตัวผู้บาดเจ็บแบบท่อนซุง (Log roll)
เมื่อพลิกตะแคงตัวผู้ทำการตรวจร่างกายจะประเมินการได้รับบาดเจ็บของประสาทสันหลังคือการเกิด functional shut down หลังไขสันหลังได้รับบาดเจ็บทันที 48 ชม.
หากมีภาวะ Spinal shock เกิดขึ้น ผู้ตรวจจะไม่สามารถตรวจพบการทำงานของกล้ามเนื้อ การรับรู้สัมผัส
การกู้ชีพ (Resuscitation)
แก้ไขภาวะคุกคามต่อชีวิตหรือที่เป็นอันตรายเร่งด่วน
โดยการกู้ชีพจะทำหลังจากการประเมินเป็นลำดับ ABC
Airway ดูแลทางเดินหายใจ ในผู้ป่วยที่มีปัญหาในการหายใจ
ฺBreathing ผู้บาดเจ็บทุกรายควรได้รับออกซิเจนเสริมหากไม่ได้ใส่ท่อช่วยหายใจ
Circulation การห้ามเลือดเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งในผู้บาดเจ็บโดยทำร่วมกับการให้สารน้ำทดแทน
ภาวะอุณหภูมิร่างกายต่ำ อาจพบได้ตั้งแต่ขณะที่ผู้บาดเจ็บมาถึง
การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตวงวัดปริมาณปัสสาวะ เป็นตัวบ่งชี้ที่ดีของปริมาณสารน้ำในร่างกาย การใส่สายสวนกระเพาะ เพื่อลดการโป่งพองของกระเพาะอาหาร ป้องกันการสำลัก เพื่อตรวจประเมินดูว่ามีเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนต้น
การประเมินสภาพร่างกายผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บอย่างละเอียด (Secondary Survey)
ทำหลังจาก primary survey และ Resuscitation จน Vital function เข้าสู่ภาวะปกติแล้ว
เพื่อให้ได้ Definite diagnosis
การซักประวัติ รวม Mechanism of Injury
การตรวจร่างกาย Head to toe
การตรวจพิเศษต่างๆ X-ray,CT Scan
การประเมินผู้ป่วยอย่างละเอียด
ข้อพึงระวัง
อาจเกิดภาวะอันตรายบางอย่างที่ตรวจไม่พบใน Primary survey จนทำให้ผู้ป่วยอาการเลวลงในขณะทำ Secondary survey ได้
การทำ Secondary survey อาจทำหลังจากผู้ป่วยออกจากห้องผ่าตัดฉุกเฉินแล้ว
History
ประวัติและ Mechanism of Injury
ตัวผู้ป่วยเอง
กรณีที่ผู้บาดเจ็บไม่รู้สึกตัวอาจสอบถามจาก Prehospital personnel ได้แก่ ผู้เห็นเหตุการณ์ ผู้นำส่ง
ประวัติอื่นๆ โรคประจำตัว ยาที่รับประทานเป็นประจำ
Allergies ประวัติการแพ้ยา สารเคมีหรือวัตถุต่างๆ
Medication ยาที่ใช้ในปัจจุบัน
Past illness / Pregnancy การเจ็บป่วยในอดีตและการตั้งครรภ์
Last meal เวลาที่รับประทานอาหารครั้งล่าสุด
Event / Environment relarted to injury อุบัติเหตุเกิดขึ้นอย่างไร รุนแรงเพียงใด
Physical Examination
Head ตรวจหนังศีรษะให้ใช้มือคลำให้ทั่วหนังศีรษะเพื่อหาบาดแผล อาจพบแผลฉีดขาด
Facial คลำกระดูกใบหน้าให้ทั่วเพื่อหา deformity ที่อาจบ่งบอก facial fracture
Cervical spine and Neck ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัวทุกรายที่มีการบาดเจ็บศีรษะ พยาบาลจะใส่ Collar
Chest การตรวจหามองรอยซ้ำ รอยยุบ ควรเคาะดูว่าอกด้านใดมีเสียงผิดปกติ
Abdomen ผู้ป่วยที่บาดเจ็บและเกิดภาวะ Shock ให้สงสัยการบาดเจ็บในช่องท้องและมีการเสียเลือดเกิดขึ้น
Musculoskeletal and Peripheral vascular assessment การบาดเจ็บแขนขาจะประเมินบาดแผล การหักง้อ บวมผิดรูป
Pelvic fracture จะตรวจพบ Ecchymosis บริเวณ lliac wing , Pubis , Labia
Neurological system เป็นการตรวจระบบประสาทและสมอง
Reevaluation ในระยะแรกที่ดูแลผู้ป่วยที่บาดเจ็บ ควรมีการประเมินร่างกายซ้ำๆ ติดตามอาการของผู้ป่วย โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการเลวลเมื่อมีเวลาล่วงไป
Definitive care การรักษาผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บภายหลังได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นแล้ว
เป็นการรักษาอย่างจริงจังหลังจากได้ทำ Secondary survey เรียบร้อยแล้ว ได้แก่ การผ่าตัดเพื่อแก้ไขภาวะฉุกเฉิน