Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
Mastitis&Breast abscess
สาเหตุ
หัวนมแตกหรือมีรอยแผล
การนวดเต้านม
การมีน้ำนมค้างในเต้านม
Mastitis: ท่อน้ำนมอุดตันหรือ เต้านมคัดตึงและไม่ได้รับการ แก้ไขแล้วเกิดการติดเชื้อขึ้น
Breast abscess: เต้านม อักเสบที่ไม่ได้รับการรักษา หรือเกิดจากหัวนมแตกและ ติดเชื้อลามเข้าไปในเต้านม
อาการและอาการแสดง
Fever 38.3 – 40 ˚C จากการอักเสบ
หนาวสั่น
คัดตึงเต้านม
เต้านมร้อน แข็งตึง กดเจ็บ
ตึงบริเวณต่อมใต้รักแร้
การป้องกัน
การรักษาความสะอาด
การให้ทารกดูดนมอย่างถูกวิธี
เลือกขนาดของเสื้อชั้นในให้เหมาะสม
สังเกตอาการผิดปกติ
หลีกเลี่ยงการสัมผัสผู้ที่มีการ
ติดเชื้อ
การรักษา
ดูแลรักษาความสะอาด
งดให้นม ในกรณี Breast abscess และให้นมได้ในกรณี Mastitis
ให้ยาปฏิชีวนะ
ประคบเย็น
ระบายหนอง
Thrombophlebitis
สาเหตุ
การเปลี่ยนแปลงของส่วนประกอบของเลือด
การไหลเวียนของหลอดเลือดดำช้าลง
การเปลี่ยนแปลงของผนังหลอดเลือดดำชั้นในสุด
ประเภท
การอักเสบของหลอดเลือดดำบริเวณขา (Femoral Thrombophebitis)
การอักเสบของหลอดเลือดดำชั้นต้น
(Superficial Venous Thrombophebitis)
ไข้ ปวดและร้อนบริเวณที่เป็น สัมผัสจะรู้สึกอุ่น
เห็นรอยแดงตาม หลอดเลือดดำกดเจ็บ
การรักษา
ยาแก้ปวด
พักผ่อนบนเตียง
พันด้วย Elastic bandage พัน 2 ชม. คลาย 10-15 นาที
การอักเสบของหลอดเลือดดำชั้นลึก
(Deep Venous Thrombophebitis)
ปวดบริเวณที่เป็นอย่างรุนแรง
ไข้สูง
หนาวสั่น
บวมกดบุ๋ม
Homan’s sign positive
การรักษา
ยกขาสูง
ประคบร้อน
พักผ่อนบนเตียง
ให้ยาปฏิชีวนะและยาต้านการแข็งตัวของเลือด
การกระตุ้นการทำกิจกรรม
Thrombolectomy
การอักเสบของหลอดเลือดดำในอุ้งเชิงกราน
(Pelvic Thrombophebitis)
Urinary Tract Infection
Cystitis & Pyelonephritis
การชอกช้ำของเนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอด
E.Coli
Postpartum psychosocial
Postpartum blues
อารมณ์เศร้าหลังคลอด ร้อยละ 30 – 75
วันที่ 3 – 4 หลังคลอด
สาเหตุ
การคลอด
ความเครียดทางกาย
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน
ความเครียดด้านจิตใจ
ความเครียดจากสังคมและ สิ่งแวดล้อม
อาการและอาการแสดง
ร้องไห้โดยไม่มีเหตุผล
อ่อนเพลีย นอนไม่หลับ
ไม่อยากรับประทานอาหาร
ลืมง่าย ไม่มีสมาธิ
รู้สึกท้อแท้
หายเองใน 2 – 3 สัปดาห์หลังคลอด
การดูแล
ประคับประคองร่างกายและจิตใจ
Postpartum depression
ภาวะจิตใจหม่นหมอง หดหู่
อาการเริ่ม คือ นอนไม่หลับ
แบ่งระยะ
ช่วงที่ 1 3 – 10 หลังคลอด
ช่วงที่ 2 1 – 3 เดือนหลังคลอด
ช่วงที่ 3 เกิดในระยะเวลา 1 ปี หลังคลอด
สาเหตุ
ความเครียดทางกาย
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงฮอร์โมน
ประสบการณ์การคลอด
ความเครียดด้านจิตใจ
ความเครียดจากสังคมและสิ่งแวดล้อม
ลักษณะ
มารดามีภาวะซึมเศร้าในระยะตั้งครรภ์
มารดาผ่านประสบการณ์การสูญเสีย
มารดามีประสบการณ์การเปลี่ยนแปลงในชีวิต
อาการและอาการแสดง
ซึมเศร้า แยกตัว เหม่อลอย
หมดแรง เครียด ย้ำคิดย้ำทำ
ฆ่าตัวตาย
การดูแล
การพักผ่อน ตอบสนองความต้องการด้าน
ร่างกาย สร้างสัมพันธภาพ
คำแนะนำในการปฏิบัติตัวและดูแลทารก
ให้กำลังใจแก่มารดาหลังคลอด
ให้ความช่วยเหลือมารดา
สังเกตอาการ
Postpartum psychosis
เกิดอาการภายใน 48 – 72 ชั่วโมง
สาเหตุ
ภาวะซึมเศร้าหลังคลอด
ลักษณะเฉพาะตัวของมารดา
อาการและอาการแสดง
นอนไม่หลับ
วิตกกังวล
สับสน
เห็นภาพหลอน
หลงผิด
การดูแล
วางแผนการพยาบาลอย่างเหมาะสม
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด
จัดอาหารให้เหมาะสม
ดูแลให้ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง
ชักนำการเข้ากลุ่มบำบัด
อธิบายแผนการรักษา
แนะนำการคุมกำเนิดและตรวจตามนัด
นายอนุพงศ์ วิชัยวุฒิ เลขที่ 87 ชั้นปี 3