Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด,…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาที่มีปัญหาสุขภาพในระยะหลังคลอด
ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์
ภาวะ Shock
ภาวะฉุกเฉินทางสูติกรรมเป็นภาวะอันตรายที่ต้องเฝ้าระวังเนื่องจากสูติกรรมเป็นการดูแลชีวิตที่เปราะบางถึงสองชีวิต
สัญญาณอันตราย
มารดา
V/S เปลี่ยนแปลง เร็วขึ้น สูงขึ้น/ลดลง ชีพจร เบาเร็ว ตัวเย็น
อาจพบเลือดออกมาให้เห็นทางช่องคลอด ได้หรือไม่พบก็ได้
ทารก
FHS มากกว่า 160 หรือต่ำกว่า 100 ครั้ง/นาที
แม่รู้สึกว่าทารกในครรภ์ดิ้นน้อยลง/ไม่ดิ้น
การป้องกันทารกขาดออกซิเจน
จัดท่ามารดานอนตะแคงซ้าย
ลดการทับ Inferior vana cava
เพิ่มการไฟลเวียนเลือดจากมารดาสู่ทารก
ภาวะ Shock
Hypovolumic shock
Blood loss
Hemorrhage
Vasogenic shock
Vasodilatation
Septic shock
สาเหตุ
Endometritis พบบ่อยที่สุด
Urinary tract infection
แท้งติดเชื้อ
Chorioamnionitis
อาการและอาการแสดง
ตามตำแหน่งการติด เชื้อ หายใจเร็ว พบว่ามีภาวะ Respiratory alkalosis ร่วมด้วย สับสน ซึม ชีพจรเร็ว ความดันโลหิตต่ำ (Systolic น้อยกว่า 90 mm.Hg หรือลดลง มากกว่า 40 mm.Hg)
เกณฑ์การวินิจฉัย
ไข้มากกว่า 38°C หรือน้อยกว่า 36°C ชีพจรมากกว่า 90 ครั้งต่อนาที อัตราการหายใจมากกว่า 20 ครั้งต่อ นาที หรือ PaCO2 น้อยกว่า 32 mm.Hg. WBC มากกว่า 12,000 / mm3 หรือ น้อยกว่า 4,000 / mm3 หรือ มากกว่า 10% band form (เม็ดเลือดขาวตัวอ่อน)
การรักษา
การได้รับยาปฏิชีวนะ
การได้รับสารน้ำอย่างเพียงพอ
การตรวจสอบ Vital signs & Urine
การกำจัดแหล่งติดเชื้อ เช่น ระบายหนอง
การได้รับออกซิเจน
การรักษาอื่น:Corticosteroids ,Anti – endotoxin agents,Anti – mediator agents
Pathophysiology
Initial
: ไม่มีอาการเปลี่ยนแปลง
Progressive
: ผิวหนังเย็นชื้น ซีด อ่อนเพลีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องรุนแรง ท้องอืด อุณหภูมิร่างกายต่ำ หายใจเร็ว ความดันโลหิตต่ำกว่าปกติ (ในราย BP ปกติ Sytolic ต่ำกว่า 90 mm.Hg. ในราย BP สูง Sytolic ลดลง จากเดิมมากกว่า 50 mm.Hg.)
Irreversible
: รายที่ช็อคจากการเสียเลือด พบเหงื่ออออกมาก , รายที่ช็อคจากการติดเชื้อ จากระบบประสาท หรือการ บาดเจ็บ พบผิวหนังเย็นชื้น, รายที่ช็อคจากการแพ้ ได้รับยาสลบหรือ ยาขยายหลอดเลือดเกินขนาดพบผิวหนังแห้ง แดงและอุ่น , รายที่ช็อคจากระบบหายใจและหัวใจ ล้มเหลว หรือเสียเลือด พบอาการเขียวคล้ำ
ภาวะไตวาย ปัสสาวะออกน้อยกว่า 20 มลิลิลิตรต่อชั่วโมงโมง ภาวะเลือดออกง่าย มีจ้ำเลือดตาม ผิวหนัง ซึม หัวใจเต้นผิดปกติหรือหยุดเต้น ชัก หมดสติ
ผลกระทบ
มารดา
ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือที่ถูกต้องและ รวดเร็วในระยะ Compensatory อาจนำไปสู่ ภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรงและเป็นอันตราย เช่น สมองบวมน้ำ ระบบหัวใจและไหลเวียนล้มเหลว จนสู่การเสียชีวิต
ทารก
เนื่องเกี่ยวข้องกับระบบไหลเวียน จึงทำให้เกิดภาวะ Fetal distress จนถึงเสียชีวิตใน รายที่มีภาวะขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
Compensatory
:ค่อยเป็นค่อยไป : รู้สึกตัวดี กระสับกระส่าย หงุดหงิด หัวใจเต้นเร็ว ชีพจรเบาเร็ว , ทันทีทันใด : สมองขาดออกซิเจน ชั่วคราวอาจทา ให้ซึม เชื่องช้า สับสน บางรายเอะอะ กระสับกระส่าย
หลักการรักษา
ป้องกันการเกิด
ประเมินและค้นหา สาเหตุ
แก้ไขภาวะช็อค
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การพยาบาล
การป้องกัน
ประเมินภาวะเสี่ยง
ประเมินอาการและอาการแสดงของ ภาวะช็อคโดยเร็ว
ให้การพยาบาลอย่างเหมาะสม
ดูแลอย่างต่อเนื่องในระยะที่ร่างกาย มีกลไกการชดเชย (Compensatory)
การพยาบาลขณะเกิดอาการ
ดูแลการได้รับออกซิเจน
ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนก๊าซเพื่อลดการทำงานของหัวใจ
และระบบหายใจ
ส่งเสริมการไหลเวียนของเลือด
เช่น จัดท่า ดูแลการได้รับสารน้ำ
ประเมินและติดตามอาการเปลี่ยนแปลง
ดูแลการได้รับยาตามแนวทางการรักษา
อธิบายอาการ แผนการรักษาและการปฏิบัติตัว
นางสาววิธิดา ประมวล เลขที่ 71 ชั้นปี 3