Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
ความผิดปกติของการตั้งครรภ์
ทารกตายในครรภ์ (Dead fetus in utero)
การตายของทารกก่อนคลอด โดยไม่คำนึงถึงอายุครรภ์
Early fetal death ตายก่อน 20 สัปดาห์
Intermediate fetal death ตายระหว่าง 20-28 สัปดาห์
Late fetal death ตายตั้งแต่ 28 สัปดาห์ขึ้นไป
สาเหต
โรคที่เกิดเนื่องจากการตั้งครรภ์
รกเกาะตํ่า
preeclampsia หรือ eclampsia
รกลอกตัวก่อนกำหนด
โรคที่เกิดร่วมกับการตั้งครรภ์
เบาหวาน
ภาวะโลหิตจาง
โรคติดเชื้อ
มาลาเรีย
ไทฟอยด์
ปอดบวม
หัดเยอรมัน
เริม
และคางทูม
ภาวะผิดปกติของทารก
IUGR , hydrops fetalis
ความผิดปกติแต่กำเนิด เช่น CHD, anencephaly
ภาวะแทรกซ้อนของสายสะดือ เช่น สายสะดือบิดพันกัน การอุดตัน ของหลอดเลือดในสาย สะดือ สายสะดือถูกมัดแน่นจาก amniotic band สายสะดือพันรอบคอ ทารก สายสะดือผูกเป็นปม เป็นตัน
ความผิดปกติของโครโมโซม
trisomy , Down’s syndrome
การได้รับอุบัติเหตุของหญิงตั้งครรภ์ที่มีผลต่อทารกในครรภ์
อันตรายจากการคลอด
การคลอดผิดปกติ
การคลอดติดขัด
มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด เช่น สายสะดือพลัดตํ่า มดลูกแตก , amniotic fluid embolism เป็นต้น
อาการและอาการแสดง
หญิงตั้งครรภ์ให้ประวัติ
เด็กไม่ดิ้น
มีเลือดหรือมีน้ำสีน้ำตาลออกทางช่องคลอด
น้ำหนักตัวลดลง
เต้านมดัดตึงน้อยลง นุ่มและเล็กลง
ตรวจหน้าท้อง
พบระดับมดลูกตํ่ากว่าอายุครรภ์และ
คลำตัวทารกพบว่าไม่รู้สึกว่า ทารกดิ้นมา กระทบมือ
ฟัง FHS ไม่ได้
คลำศีรษะทารกจะรู้สึกนุ่มและสามารถบีบให้เล็กลงได้ เนื่องจากกระดูกกะโหลก ศีรษะเกยกันมา
การวินิจฉัย
การซักประวัติ
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การถ่ายภาพรังสี (X-rays)
Spalding’s sign
Deuel sign
กระดูกสันหลังโค้งงอมากกว่าปกติหรือหักงอเป็นมุม
พบเงาแก๊สในหลอดเลือดใหญ่ (aorta vena cava) ของทารก
ตรวจหาปริมาณของ estriol ในปัสสาวะ 24 ชั่วโมง
มีระดับลดตํ่าลงทันที ภายใน 2448 ชั่วโมง หรือ
ตรวจหา creatinine phosphokinase activity ในน้ำครํ่าพบว่า สูงขึ้นมากภายหลังทารกตาย
ตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
ไม่พบ FHR
กะโหลกศีรษะแยกออกเป็น 2 เส้น เนื่องจาก
outer & inner table ของกระดูกแยกจากกัน
ศีรษะทารกมีรูปร่างผิดปกติ
มีการยุบของกะโหลกศีรษะและมีการซ้อนกัน
ของกระดูกกะโหลกศีรษะ
แนวทางการรักษา
รอให้เจ็บครรภ์และคลอดเอง
ตรวจเลือดเพื่อดู clotting time และ fibrinogen ทุกสัปดาห์ ถ้าพบว่าระดับ fibrinogen < 100 mg.% ต้องทำให้การตั้งครรภ์สิ้นสุดลง
การทำให้ครรภ์สิ้นสุดลง
ให้ oxytocin
ฉีดนํ้ายาเข้มข้นเข้าถุงนํ้าครํ่าทางหน้าท้อง (amnioinfusion)
การพยาบาล
ประเมินการตรวจ Clotting time ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพื่อประเมินภาวะเลือดไม่
แข็งตัว
ดูแลมารดาให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินการสูญเสียเลือด ถ้าออกมากผิดปกติรีบรายงานแพทย์
ประเมินความเศร้าโศกของหญิงตั้งครรภ์และครอบครัว
ประเมินประสบการณ์ การแก้ปัญหา หรือการเผชิญปัญหาเมื่อเกิดการสูญเสีย หรือมีภาวะวิกฤตที่หญิงตั้งครรภ์หรือครอบครัวเคยใช้มาก่อน
ประเมินระบบสนับสนุน ความเชื่อ ประเพณีวัฒนธรรม
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
มารดามีโอกาสได้รับอันตรายจากภาวะเลือดไม่แข็งตัวเนื่องจากทารกตายในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
หญิงตั้งครรภ์มีความกลัววิตกกังวล เศร้าโศกจากการสูญเสียทารก บางรายอาจรู้สึก ผิดโทษตนเอง ที่เป็นสาเหตุให้ทารกตาย
ในรายที่ DFIU > 4 wks. ทำให้เกิดภาวะเลือดไม่แข็งตัว
มีโอกาสติดเชื้อในถุงนํ้าครํ่า
การหดรัดตัวของมดลูกไม่ดี ทำให้การคลอดยาวนาน รกด้าง และ PPH
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labour)
การเจ็บครรภ์หรือการคลอดขณะอายุ ครรภ์ 20 สัปดาห์ ถึงก่อน 37 สัปดาห์
โดยมีการหดรัดตัวของมดลูกอย่างสม่ำเสมอ 4 ครั้ง ใน 20 นาที หรือ 8 ครั้ง ใน 1 ชั่วโมง
ร่วมกับมีการเปลี่ยนแปลงของปากมดลูกมากขึ้น
โดยมีการเพิ่มขยายของปากมดลูกมากกว่า 1 เซนติเมตร
หรือปากมกลูกมีความบางตัวตั้งแต่ร้อยละ 80 ขึ้นไป
ปัจจัยชักนำ
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
การติดเชื้อของน้ำคร่ำ
ความผิดปกติของทารกหรือรก
เคยมีประวัติคลอดก่อนกำหนด หรือแท้งในระยะหลังของการตั้งครรภ์
มดลูกขยายโตกว่าปกติ
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ห่วงอนามัยค้างอยู่ในโพรงมดลูก
โรคร้ายแรงของมารดา
การชักนำให้เกิดการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ความผิดปกติของมดลูก
เนื้อเยื่อปากมดลูกอ่อนนุ่มผิดปกติ
ความผิดปกติของรก
ประเมินสภาพ
การซักประวัติ
ประเมินอายุครรภ์
:warning: อาการเตือนของการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ปวดบริเวณเหนือกระดูกหัวเหน่า คล้ายปวดประจำเดือน
ปวดตื้อๆบริเวณส่วนล่างหรือบั้นเอว
ปวดหน่วงลงล่างลักษณะคล้ายกับทารกเคลื่อนต่ำ หรืออาการท้องลด
ปวดบริเวณช่องท้อง
มีมูกออกทางช่องคลอด
:<3: ข้อมูลที่เป็นปัจจัยเสี่ยงให้เกิดการคลอดก่อนกำหนด
อายุน้อยกว่า 20 ปี หรือมากกว่า 35 ปี
ตั้งครรภ์ไม่พึงปรารถนา
น้ำหนักตัวเมื่อเริ่มตั้งครรภ์น้ำหนักน้อยกว่า 50 กก. เมื่อเริ่มตั้งครรภ์ และเพิ่มน้อยในระยะตั้งครรภ์
สูบบุหรี่และใช้สารเสพติด
มีประวัติคลอดก่อนกำหนด
มีประวัติทารกตายในครรภ์ หรือตายในระยะแรกเกิด
ภาวะจิตสังคม
สภาพจิตใจ
ความวิตกกังวล
ความกลัว
และความเครียด
การตรวจร่างกายและการตรวจครรภ์
การคลำหน้าท้อง
คลำดูการหดรัดตัวของมดลูก
(uterine contraction) จะม่ำเสมอ
:red_cross: การตรวจภายในช่องทางคลอด
:check: ยกเว้นผู้คลอดที่เจ็บครรภ์ถี่และปวดเบ่ง
การตรวจวินิจฉัย
การตรวจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง
การใช้เครื่องมือตรวจการหดรัดตัวของมดลูก
การรักษาของแพทย์
ข้อมูลแผนการรักษาของแพทย์เพื่อยับยั้ง
การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
และการให้ยาเร่งสมรรถภาพของปอดทารกในครรภ์
แนวทางการรักษา
ตรวจหาข้อห้ามสำหรับดำเนินการตั้งครรภ์ต่อ
ผู้ที่มีการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
กลุ่มที่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
และไม่มีการบางตัวของปากมดลูก => ไม่ได้เจ็บครรภ์
---> ไม่มีการรักษาใดๆ
กลุ่มที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
แต่ไม่มีการบางตัวของปากมดลูก => เป็นการเจ็บครรภ์ก่อนกำหนด
--> ให้นอนพักอย่างเพียงพอ และควรรักษาด้วยให้สารน้ำอย่างเพียงพอ (hydration)
--> ไม่ต้องใช้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
กลุ่มที่ไม่มีการหดรัดตัวของมดลูก
แต่มีการบางตัวของปากมดลูก => เป็น Incompetent cervix
--> การนอนพักและ
--> พิจารณาการผ่าตัดโดยการเย็บผูกปากมดลูก
กลุ่มที่มีการหดรัดตัวของมดลูก
และมีการบางตัวของปากมดลูก => การคลอดก่อนกำหนด
--> ให้ยายับยงั้การหดรัดตัวของมดลูก
--> ถ้าไม่สามารถยับยั้งการหดรัดตัวของมดลูกได้
พิจารณาให้ยาที่ไปกระตุ้นให้ปอดสร้างสาร surfactant เพื่อลดการเกิดภาวะ RDS
--> ดูแลการคลอดและทารกหลังคลอดเพื่อป้องกันภาวะขาดออกซิเจน
:forbidden: ข้อห้ามในการให้ยา
ยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอด
โดยพิจารณาให้สิ้นสุดการตั้งครรภ์
การเจ็บครรภ์เข้าสู่ระยะ active
ถุงน้ำคร่ำแตก
มีภาวะแทรกซ้อนที่รุนแรง เช่น pre-eclampsia
มีภาวะแทรกซ้อนทางสูติศาสตร์
เช่น ตกเลือดก่อนคลอด
ทารกในครรภ์มีภาวะแทรกซ้อน
เช่น IUGR, พิการแต่กำเนิด เป็นต้น
มีภาวะแทรกซ้อนที่เป็นข้อห้ามในการใช้ยากลุ่ม beta-sympathominetic drugs
เช่น เบาหวาน ที่ควบคุมไม่ได้
ยาสำหรับยับยั้งการเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Tocolytic Agents)
1. Beta-adrenergic receptor agonists
Ritodrine (Yutopar)
Terbutaline (Bricanyl)
Fenoterol (Berotec)
2. Magnesium sulfate
3. Prostaglandin synthetase inhibitors
salicylate
indomethacin
naproxen
4. Calcium channel blocking drugs
verapamil
nifedipine
5. ยาอื่น ๆ
ethanol
diazoxide
progesterone
ตำแหน่งของ receptors
Beta 1 receptors
มีที่
หัวใจ : ยาจะกระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น การบีบตัวแรงขึ้น
ลำไส้ : ยาทำให้ลำไส้คลายตัว อาจจะท้องอืดได้ง่าย
เนื้อเยื่อ ไขมัน : ยากระตุ้นการสลายไขมัน (lipolysis)
ทำให้ free fatty acids และ glycerol สูงขึ้น
Beta 2 receptors
มีที่
มดลูก : ยาทำให้มดลูกคลายตัว
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลม : ยาทำให้หลอดลมขยายตัว
กล้ามเนื้อเรียบของหลอดเลือด : ยาทำให้หลอดเลือดขยายตัว
ตับและกล้ามเนื้อ : ยาทำให้เกิด glycogenolysis ระงับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น
แนวทางการดูแล
ควรตรวจอัตราการเต้นของหัวใจทารก และการหดตัวของมดลูก
ระวังการใช้ยาแก้ปวดและยานอนหลับในขณะเจ็บครรภ์ เพราะอาจกดการหายใจต่อทารกหลังคลอด
ลดความกระทบกระเทือนต่อทารกในขณะคลอด โดยตัดฝีเย็บ( episiotomy ) กว้าง ๆ
พิจารณาให้การผ่าตัดคลอดทารกทางหน้าท้อง
fetal distress
ทารกท่าก้น อายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์
ทารกท่าขวาง หรือ ท่าเฉียง
ข้อบ่งชี้อื่น ๆ ทางสูติศาสตร์
เช่น รกเกาะต่ำ การเจ็บครรภ์คลอดเนิ่นนาน
ขณะคลอดควรมีกุมารแพทย์เตรียมพร้อม ที่จะให้ความช่วยเหลือทารกได้ทันท่วงที
ควรระวังผลเสียของยาต่อทารกไว้ด้วย
เช่น ความดันโลหิตต่ำ ,น้ำตาลและแคลเซียมในโลหิตต่ำ
เพิ่มการดูแลในด้านฉุกเฉินไว้ให้พร้อม