Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบริหารการพยาบาล - Coggle Diagram
การบริหารการพยาบาล
การบริหารหอผู้ป่วย
หลักการจัดหอผู้ป่วย
ความเป็นสัดส่วน (Privacy)
ความปลอดภัย (Safety)
การป้องกันและควบคุมการแพร่กระจายเชื้อ (Infection control)
ควบคุมเสียง (Noise control)
องค์ประกอบการจัดหอผู้ป่วย
. จำนวนเตียง 24 เตียง
Nurse station
ห้องน้ำ
ห้องทำ treatment
ห้องเก็บพัสดุ
ห้องพักพยาบาลและอื่นตามเห็นสมควร
การจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล Nursing Staffing
วัตถุประสงค์
มีบุคลากรอย่างเพียงพอ เหมาะสม และสมดุลกับปริมาณภาระงาน
มีสัดส่วนของบุคลากรทางการพยาบาล แต่ละระดับ/ประเภทอย่างเหมาะสมในการให้บริการที่มีคุณภาพ
เพื่อออกแบบหรือรูปแบบการจัดตารางเวลาการปฏิบัติงาน
กระบวนการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล Nursing Staffing
การวางแผนอัตรากำลัง (Staffing planning)
การจัดตารางการปฏิบัติงาน (Scheduling)
การกระจายอัตรากำลัง (Staffing allocation)
การจัดตารางการปฏิบัติงาน (Scheduling)
เพื่อให้มีการกระจายกำลังคนตามปริมาณงาน ในแต่ละช่วงเวลาและมีการจัดสัดส่วนการผสมผสานทักษะปฏิบัติของบุคลากร แต่ละประเภทให้เหมาะสม
รูปแบบ
รูปแบบการจัดเวลาปฏิบัติงานโดยการหมุนเวียน (Rotation shift scheduling)
รูปแบบการจัดเวลาปฏิบัติงานโดยการจัดแบบรอบหรือวงจร (Cyclical scheduling)
รูปแบบการจัดเวลาปฏิบัติงานแบบคงที่หรือเวรประจำ (Fixed shift scheduling)
รูปแบบการจัดเวลาปฏิบัติงานแบบบล็อก (Block Scheduling system)
การมอบหมายงาน (Assignment)
วัตถุประสงค์
เพื่อกำหนดขอบเขตความรับผิดชอบ
เพื่อให้การพยาบาลที่มีประสิทธิภาพ ตรงเวลา ถูกต้องตามหลักการวิชาการ
เพื่อเป็นแนวทางในการประเมินผลการปฏิบัติงาน
เพื่อความสะดวกแก่การบริหารงานในหอผู้ป่วย
ระเบียบการมอบหมายงาน
.มอบหมายงานเป็นลายลักษณ์อักษรในแบบฟอร์มที่กำหนดไว้ล่วงหน้า
ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงการมอบหมายงาน ต้องแจ้งให้สมาชิกทราบล่วงหน้า
ตรวจสอบการมอบหมายงานทุกวันเพื่อปรับเปลี่ยนกรณีที่มีปัญหา
กำหนดเวลาให้ชัดเจนเช่นเวลาพัก
ต้องชี้แจงการมอบหมายงานให้สมาชิกทราบก่อนปฏิบัติงาน
การนิเทศทางการพยาบาล (Nursing supervision)
กระบวนการควบคุมงาน วางแผน แนะนำสอน ช่วยเหลือ ติดตามประเมินผล เพื่อให้งานสำเร็จตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์
เพื่อช่วยให้เจ้าหน้าที่ทุกคนมีความสามารถที่ดีที่สุด
ประสานงานในระดับสูงและระดับต่ำ โดยให้มีความเข้าใจตรงกันในนโยบายดำเนินการ
ตรวจสอบและบำรุงรักษาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการรักษาพยายาล
เพื่อผู้ป่วยทุกคนจะได้รับการพยาบาลที่มีคุณภาพ
จุดมุ่งหมาย
บุคลากรสามารถปฏิบัติงานได้โดยสะดวก
ส่งเสริมความรู้ทางวิชาการ
บำรุงรักษาทรัพยากรบุคคล
รวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวางแผนพัฒนาบุคลากร
ขอบเขตและความรับผิดชอบของผู้บริหารทางการพยาบาลในหน่วยบริการสุขภาพ
ผู้บริหารการพยาบาล >> มีหน้าที่กำหนดนโยบายงานในองค์การพยาบาล เพื่อให้บุคลากรพยาบาลที่เกี่ยวข้องนำไปดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
ผู้จัดการพยาบาล >> มีหน้าที่นำนโยบายขององค์การพยาบาล ไปดำเนินการให้บรรลุเป้าหมาย
การจัดระบบบริการสุขภาพ
ระดับบริการปฐมภูมิ
ระดับบริการปฐมภูมิระดับต้น (ระดับ ๑.๐) บริการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู รักษาโรคเบื้องต้น (โดยบุคลากรที่ไม่ใช่แพทย์)
ระดับปฐมภูมิหลัก (ระดับ ๑.๑) บริการส่งเสริม ป้องกัน ฟื้นฟู รักษาโรคเบื้องต้น ถึงระดับผู้ป่วยนอก (โดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว ทันตแพทย์ เภสัชกร มีศูนย์สุขภาพชุมชน)
ระดับบริการทุติยภูมิ
ระดับบริการทุติยภูมิระดับต้น (ระดับ ๒.๑)บริการรักษาโรคทั่วไป ถึงระดับผุ้ป่วยใน (โดยแพทย์เวชปฏิบัติทั่วไป/เวชปฏิบัติครอบครัว)
ระดับบริการทุติยภูมิระดับกลาง (ระดับ ๒.๒) ให้บริการรักษาโรค โดยแพทย์เฉพาะทางสาขาหลัก (Major)
ระดับบริการทุติยภูมิระดับสูง (ระดับ ๒.๓) ให้บริการรักษาโรค โดยแพทย์เฉพาะทางสาขารอง (Minor)
ระดับตติยภูมิ
ระดับบริการตติยภูมิ (ระดับ ๓ .๑) บริการรักษาโรค โดยแพทย์เฉพาะทางสาขาต่อยอด (Sub-specialty)
ระดับบริการ (Excellence Center) บริการรักษาโรค โดยแพทย์สาขาต่อยอดใน ๔ ศูนย์หลัก ๆ ดังนี้ ศูนย์หัวใจ ศูนย์มะเร็ง ศูนย์อุบัติเหตุ และศูนย์ปลูกถ่ายอวัยวะ
การบริหารการพยาบาลในหน่วยบริการระดับปฐมภูมิ
การวางแผน (Planning)
กำหนดจุดมุ่งหมายขององค์กร
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกและประเมินศักยภาพขององค์การ
การจัดทำแผนกำหนดทางเลือกและเกณฑ์ปฏิบัติ
ปฏิบัติตามแผน หลังจากได้รับอนุมัติแผนงานหรือโครงการแล้ว เตรียมความพร้อมและชี้แจงทีมงานให้ทราบเกี่ยวกับแผน และปฏิบัติตามแผนที่ทำผังกำกับไว้
ประเมินผลและทบทวนแผน
การจัดองค์กรการพยาบาล
วัตถุประสงค์ขององค์กรหรือจุดมุ่งหมายขององค์กร
โครงสร้างขององค์กร
กระบวนการปฏิบัติงาน
การกำหนดมอบหมายงาน
การนำหรืออำนวยการ (Directing)
การสั่งการ
การมอบหมายงาน
การควบคุมกำกับงาน (Controlling)
การกำหนดเป้าหมายในการควบคุมกำกับงาน
การพัฒนามาตรฐานในการปฏิบัติงาน
การวัดผลงานและเปรียบเทียบผลงานกับมาตรฐาน
การปรับปรุงแก้ไขข้อบกพร่อง
การบริหารการพยาบาลในหน่วยบริการทุติยภูมิและตติยภูมิ
ผู้บริหารระดับสูง (Top level administration)
ผู้บริหารระดับกลาง (Middle level administration)
ผู้บริหารระดับต้น (First level administration)
บทบาทและหน้าที่ของผู้บริหารการพยาบาล
ทีมการพยาบาล
ทีมการพยาบาล หมายถึง พยาบาลวิชาชีพ/ พยาบาลเทคนิค/ พนักงานช่วยเหลือคนไข้ ที่ขึ้นปฏิบัติงานตามตารางการปฏิบัติงาน (ตารางเวร) ที่จัดไว้แต่ละหอผู้ป่วย
วัตถุประสงค์ของการทำงานเป็นทีมการพยาบาล
เพื่อปรับปรุงบริการพยาบาลให้ดียิ่งขึ้น
ช่วยพัฒนาความรู้และทักษะของสมาชิกทีม
ช่วยแบ่งเบางานที่ไม่จำเป็นต้องให้พยาบาลรับผิดชอบและแก้ปัญหาจำนวนเจ้าหน้าที่น้อย
เพื่อฝึกฝนให้เป็นผู้นำที่ดี
องค์ประกอบของทีมการพยาบาล
ผู้นำหรือหัวหน้าทีมการพยาบาล
สมาชิก
แผนงาน
การประสานงาน
การรายงาน
การประเมินผลการพยาบาล